ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน--ตอนที่ 1: ตามพิจารณาธรรมในแบบนิวรณ์๕.........👉
https://ppantip.com/topic/41105554
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน--ตอนที่ 2: ตามพิจารณาธรรมในแบบ...อายตนะ 6...👉
https://ppantip.com/topic/41112515
สรุป...
1. การปฏิบัติ...แบบธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน...แบบพิจารณา..อุปาทานขันธ์๕...นี้ ไม่ต้องบริกรรม...
แต่ต้องคิดพิจารณาธรรมการบริกรรม...เป็นสมถะ...ไม่ได้ผิด-ไม่ได้ว่าผิด
เพียงแต่.." ไม่ต้องบริกรรม "..สำหรับการปฏิบัติ....แบบนี้
2. การปฏิบัติแบบนี้... ต้องรู้ธรรม..ต้องรู้จักอุปาทานขันธ์๕.... ดังนี้ (ดูตารางประกอบ)
2.1 รูป...คือ...มหาภูตทั้ง4..อันได้แก่ ดิน-น้ำ-ไฟ-ลม และ..อวัยวะร่างกายที่ก่อมาจากมหาภูต4..
ด้วยด้วยเหตุแห่งอุปาทาน(ต้องไปศึกษาเพิ่มว่า... ดิน-น้ำ-ไฟ-ลม ,....คือ..อะไร?)
รูป...เกิดจาก...อาหาร...หมายถึงอาหารที่บริโภคเข้าไปเป็นอวัยวะร่างกายนี้...
รูป...ตั้งอยู่ไม่เพราะ...อาหาร...ถ้าไม่มีอาหารก็ดำรงค์อยู่ไม่ได้
และ..อริยมรรค์8..เป็นหนทางในการดับของรูปนี้
2.2 เวทนา...คือ...ความรู้สึก...สุขกาย-ทุกข์กาย-สุขใจ(โสมน้ส)-ทุกข์ใจ(โทรมนัส)-อทุกขมสุข(อุเบกขา)
เวทนา...เกิดจาก...ผัสสะ...หมายถึง...ผัสสะทางอายตนะทั้ง6
- ตา..เห็น..รูป...............................แล้วก็การรู้ทางตา ----> เวทนาทางตา...ก็เกิดขึ้น
- หู..ได้ยิน..เสียง...........................แล้วก็การรู้ทางหู -----> เวทนาทางหู.....ก็เกิดขึ้น
- จมูก..ได้...กลิ่น...........................แล้วก็การรู้ทางจมูก --> เวทนาทางจมูก..ก็เกิดขึ้น
- ลิ้น..ลิ้ม..รส.................................แล้วก็การรู้ทางลิ้น --> เวทนาทางลิ้น.....ก็เกิดขึ้น
- กาย.,ต้อง..สัมผัสทางกาย.............แล้วก็การรู้ทางกาย --> เวทนาทางกาย,..ก็เกิดขึ้น
- ใจรูปธรรม(เวทนา-สัญญา-สังขาร)..แล้วก็การรู้ทางใจ ---> เวทนาทางใจ....ก็เกิดขึ้น
(โทรมนัส-โสมนัส-อุเบกขา)
เวทนา...ตั้งอยู่ไม่เพราะ...ผัสสะดับไป...เมื่อผัสสะดับ..เวทนาก็ไม่มี
และ..อริยมรรค์8..เป็นหนทางในการดับของเวทนานี้
2.3 สัญญา...คือ...ความจำได้หมายรู้... เช่น จำได้หมายรู้สีแดง - สีเขียว - ว่าอะไรเป็นอะไร ....
คล้ายๆกับติดความจากผัสสะได้ว่าคืออะไร.. รวมถึงความทรงจำด้วย..
สัญญา...เกิดจาก...ผัสสะ...หมายถึง...ผัสสะทางอายตนะทั้ง6...เช่นเดียวกับเวทยา...
คือเมื่อผัสสะเกิด...สัญญาเกิดขึ้นเช่นเดียวกับ..เวทนา
สัญญา...ตั้งอยู่ไม่เพราะ...ผัสสะดับไป...เมื่อผัสสะดับ..สัญญาก็ไม่มี
และ..อริยมรรค์8..เป็นหนทางในการดับของสัญญานี้
2.4 สังขาร...คือ...การปรุงแต่ง... เป็นความคิด - เป็นเจตนาด้วย...
ปรุงแต่งไปทาง..กาย-วาจา-ใจ <--อันนี้กล่าวใน 3 แบบ
ถ้ากล่าวแบบ 5 คือ
- ปรุงแต่งรูป..โดยความเป็นรูป
- ปรุงแต่งเวทนา..โดยความเป็นเวทนา
- ปรุงแต่งสัญญา..โดยความเป็นสัญญา.
- ปรุงแต่งสังขาร..โดยความเป็นสังขาร
- ปรุงแต่งวิญญาณ..โดยความเป็นวิญญาณ
(..จะเห็นว่า..ขันธ์๕..มันคือของปรุงแต่ง...เป็น...สังขตธาตุ...)
สังขาร....เกิดจาก...ผัสสะ...หมายถึง...ผัสสะทางอายตนะทั้ง6...เช่นเดียวกับเวทยา...
คือเมื่อผัสสะเกิด...สัญญาเกิดขึ้นเช่นเดียวกับ..เวทนา
สังขาร....ตั้งอยู่ไม่เพราะ...ผัสสะดับไป...เมื่อผัสสะดับ..สังขารก็ไม่มี
และ..อริยมรรค์8..เป็นหนทางในการดับของ สังขารนี้
2.5 วิญญาณ...คือ..." กริยาที่รู้ "...จำให้ดีเลยว่าฺือ " กริยา " ..ไม่ใช่ตัวรู้... ไอ้ตัวรู้นะ " เรานั่นหละที่รู้ "....
ถามว่า..รู้อะไร..ก็รู้ทุกสิ่งทุกอย่างที่มาจากอายตนะทั้ง 6 นั้นหละ..
คือ.. รู้ว่าเปรี้ยวบ้าง ขมบ้าง.. 9ล9
วิญญาณ...เกิดจาก...นามรูป คือ...เพราะว่าร่างกาย..และ..เวทนา-สัญญา-สังขาร..นี่หละ..
เมื่ออายะตนะไปกระทบเข้า ก็เกิดกริยาการรู้ขึ้นมา....
การไปบอกว่า...วิญญาณ..หรือ..จิต..คือ..ตัวไปรู้นะ...มันไม่ถูกต้อง
วิญญาณ...ตั้งอยู่ไม่เพราะ...นามรูปดับไป...เมื่อนามรูปดับ..วิญญาณก็ตั้งไม่ได้
และ..อริยมรรค์8..เป็นหนทางในการดับของสัญญานี้
3. การปฏิบัตินี้... จะต้องรอบรู้ใน..อุปาทานขันธ์๕... ต้องมีความรู้ในพระสัทธรรมที่ถูกต้อง...และต้องเข้าใจ
จึงจะสามารถยก..ความรู้เรื่องอุปาทานขันธ์๕...มาพิจารณาได้ การพิจารณาก็คือ..การคิดการตรึกในเรื่อง
อุปาทานขันธ์๕....นั่นหละ
4. แม้นจะยก...พระสูตรเรื่อง " อุปาทานขันธ์๕ "...มาสาธยายก็ได้... นี่ก็เป็นเหตุแห่งการบรรลุธรรมเช่นกัน,..
https://84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=22&A=461&Z=514
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๔
อังคุตตรนิกาย ปัญจก-ฉักกนิบาต
๖. วิมุตติสูตร
[๒๖] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้ ซึ่งเป็นเหตุให้
จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น
อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมบรรลุธรรมอันเกษมจากโยคะ
ชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการเป็นไฉน
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้ดูกรภิกษุทั้งหลาย
พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป แสดงธรรมแก่ภิกษุใน
ธรรมวินัยนี้ เธอย่อมเข้าใจอรรถเข้าใจธรรมในธรรมนั้นตามที่พระศาสดาหรือ
เพื่อนสพรหมจารี ผู้อยู่ในฐานะครูแสดงแก่เธอ เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม
ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์แล้ว ย่อมเกิดปีติ เมื่อใจเกิดปีติกายย่อมสงบ
ผู้มีกายสงบแล้ว ย่อมได้เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น
เหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๑ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มี
ใจเด็ดเดี่ยว ที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้นไป ย่อมถึงความ
สิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ
ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี
ผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ก็แต่ว่าภิกษุย่อมแสดงธรรมเท่า
ที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เธอย่อมเข้าใจอรรถ
@๑. หมายถึงอาสวักขยญาณ
เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ที่ภิกษุแสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่
ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ ...
เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๒ ...
ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง...
- พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ
- แม้ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร
" ก็แต่ว่าภิกษุย่อมทำการสาธยายธรรม...เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร "
เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ในธรรมนั้น
ตามที่ภิกษุสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร
เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ ... เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น
ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๓ ...
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป
ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมา
แก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ทำการสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ
ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร ก็แต่ว่าภิกษุย่อมตรึกตรองใคร่ครวญธรรมเท่าที่ได้สดับ
ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ เธอย่อมเข้า
ใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ตามที่ภิกษุตรึกตรองใคร่ครวญธรรมตามที่ได้
สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมย่อมเกิด
ปราโมทย์ ... เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๔ ...
ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารีผู้อยู่
ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ
ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ภิกษุก็ไม่ได้สาธยายธรรมเท่าที่ได้
สดับได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ตรึกตรอง ใคร่ครวญธรรมเท่าที่
ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ ก็แต่ว่า สมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่ง เธอเล่า
เรียนมาด้วยดี ทำไว้ในใจด้วยดี ทรงไว้ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เธอย่อม
เข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ตามที่เธอเล่าเรียนสมาธินิมิตอย่างใดอย่าง
หนึ่งมาด้วยดี ทำไว้ในใจด้วยดี ทรงไว้ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา
เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์แล้วย่อม
เกิดปีติ เมื่อมีใจเกิดปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีกายสงบแล้วย่อมได้เสวยสุข เมื่อมีสุข
จิตย่อมตั้งมั่น ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๕ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของ
ภิกษุผู้ไม่ประมาทมีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู่ ที่ยังไม่หลุดพ้นย่อมหลุดพ้น
อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอันเกษมจาก
โยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ ดูกรภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้แล
ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู่ ที่ยังไม่
หลุดพ้นย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้
บรรลุธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ ฯ
จบสูตรที่ ๖
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน--ตอนที่ 3 : ตามพิจารณาธรรมในแบบ...อุปาทานขันธ์๕
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน--ตอนที่ 2: ตามพิจารณาธรรมในแบบ...อายตนะ 6...👉https://ppantip.com/topic/41112515
สรุป...
1. การปฏิบัติ...แบบธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน...แบบพิจารณา..อุปาทานขันธ์๕...นี้ ไม่ต้องบริกรรม...
แต่ต้องคิดพิจารณาธรรมการบริกรรม...เป็นสมถะ...ไม่ได้ผิด-ไม่ได้ว่าผิด
เพียงแต่.." ไม่ต้องบริกรรม "..สำหรับการปฏิบัติ....แบบนี้
2. การปฏิบัติแบบนี้... ต้องรู้ธรรม..ต้องรู้จักอุปาทานขันธ์๕.... ดังนี้ (ดูตารางประกอบ)
2.1 รูป...คือ...มหาภูตทั้ง4..อันได้แก่ ดิน-น้ำ-ไฟ-ลม และ..อวัยวะร่างกายที่ก่อมาจากมหาภูต4..
ด้วยด้วยเหตุแห่งอุปาทาน(ต้องไปศึกษาเพิ่มว่า... ดิน-น้ำ-ไฟ-ลม ,....คือ..อะไร?)
รูป...เกิดจาก...อาหาร...หมายถึงอาหารที่บริโภคเข้าไปเป็นอวัยวะร่างกายนี้...
รูป...ตั้งอยู่ไม่เพราะ...อาหาร...ถ้าไม่มีอาหารก็ดำรงค์อยู่ไม่ได้
และ..อริยมรรค์8..เป็นหนทางในการดับของรูปนี้
2.2 เวทนา...คือ...ความรู้สึก...สุขกาย-ทุกข์กาย-สุขใจ(โสมน้ส)-ทุกข์ใจ(โทรมนัส)-อทุกขมสุข(อุเบกขา)
เวทนา...เกิดจาก...ผัสสะ...หมายถึง...ผัสสะทางอายตนะทั้ง6
- ตา..เห็น..รูป...............................แล้วก็การรู้ทางตา ----> เวทนาทางตา...ก็เกิดขึ้น
- หู..ได้ยิน..เสียง...........................แล้วก็การรู้ทางหู -----> เวทนาทางหู.....ก็เกิดขึ้น
- จมูก..ได้...กลิ่น...........................แล้วก็การรู้ทางจมูก --> เวทนาทางจมูก..ก็เกิดขึ้น
- ลิ้น..ลิ้ม..รส.................................แล้วก็การรู้ทางลิ้น --> เวทนาทางลิ้น.....ก็เกิดขึ้น
- กาย.,ต้อง..สัมผัสทางกาย.............แล้วก็การรู้ทางกาย --> เวทนาทางกาย,..ก็เกิดขึ้น
- ใจรูปธรรม(เวทนา-สัญญา-สังขาร)..แล้วก็การรู้ทางใจ ---> เวทนาทางใจ....ก็เกิดขึ้น
(โทรมนัส-โสมนัส-อุเบกขา)
เวทนา...ตั้งอยู่ไม่เพราะ...ผัสสะดับไป...เมื่อผัสสะดับ..เวทนาก็ไม่มี
และ..อริยมรรค์8..เป็นหนทางในการดับของเวทนานี้
2.3 สัญญา...คือ...ความจำได้หมายรู้... เช่น จำได้หมายรู้สีแดง - สีเขียว - ว่าอะไรเป็นอะไร ....
คล้ายๆกับติดความจากผัสสะได้ว่าคืออะไร.. รวมถึงความทรงจำด้วย..
สัญญา...เกิดจาก...ผัสสะ...หมายถึง...ผัสสะทางอายตนะทั้ง6...เช่นเดียวกับเวทยา...
คือเมื่อผัสสะเกิด...สัญญาเกิดขึ้นเช่นเดียวกับ..เวทนา
สัญญา...ตั้งอยู่ไม่เพราะ...ผัสสะดับไป...เมื่อผัสสะดับ..สัญญาก็ไม่มี
และ..อริยมรรค์8..เป็นหนทางในการดับของสัญญานี้
2.4 สังขาร...คือ...การปรุงแต่ง... เป็นความคิด - เป็นเจตนาด้วย...
ปรุงแต่งไปทาง..กาย-วาจา-ใจ <--อันนี้กล่าวใน 3 แบบ
ถ้ากล่าวแบบ 5 คือ
- ปรุงแต่งรูป..โดยความเป็นรูป
- ปรุงแต่งเวทนา..โดยความเป็นเวทนา
- ปรุงแต่งสัญญา..โดยความเป็นสัญญา.
- ปรุงแต่งสังขาร..โดยความเป็นสังขาร
- ปรุงแต่งวิญญาณ..โดยความเป็นวิญญาณ
(..จะเห็นว่า..ขันธ์๕..มันคือของปรุงแต่ง...เป็น...สังขตธาตุ...)
สังขาร....เกิดจาก...ผัสสะ...หมายถึง...ผัสสะทางอายตนะทั้ง6...เช่นเดียวกับเวทยา...
คือเมื่อผัสสะเกิด...สัญญาเกิดขึ้นเช่นเดียวกับ..เวทนา
สังขาร....ตั้งอยู่ไม่เพราะ...ผัสสะดับไป...เมื่อผัสสะดับ..สังขารก็ไม่มี
และ..อริยมรรค์8..เป็นหนทางในการดับของ สังขารนี้
2.5 วิญญาณ...คือ..." กริยาที่รู้ "...จำให้ดีเลยว่าฺือ " กริยา " ..ไม่ใช่ตัวรู้... ไอ้ตัวรู้นะ " เรานั่นหละที่รู้ "....
ถามว่า..รู้อะไร..ก็รู้ทุกสิ่งทุกอย่างที่มาจากอายตนะทั้ง 6 นั้นหละ..
คือ.. รู้ว่าเปรี้ยวบ้าง ขมบ้าง.. 9ล9
วิญญาณ...เกิดจาก...นามรูป คือ...เพราะว่าร่างกาย..และ..เวทนา-สัญญา-สังขาร..นี่หละ..
เมื่ออายะตนะไปกระทบเข้า ก็เกิดกริยาการรู้ขึ้นมา....
การไปบอกว่า...วิญญาณ..หรือ..จิต..คือ..ตัวไปรู้นะ...มันไม่ถูกต้อง
วิญญาณ...ตั้งอยู่ไม่เพราะ...นามรูปดับไป...เมื่อนามรูปดับ..วิญญาณก็ตั้งไม่ได้
และ..อริยมรรค์8..เป็นหนทางในการดับของสัญญานี้
3. การปฏิบัตินี้... จะต้องรอบรู้ใน..อุปาทานขันธ์๕... ต้องมีความรู้ในพระสัทธรรมที่ถูกต้อง...และต้องเข้าใจ
จึงจะสามารถยก..ความรู้เรื่องอุปาทานขันธ์๕...มาพิจารณาได้ การพิจารณาก็คือ..การคิดการตรึกในเรื่อง
อุปาทานขันธ์๕....นั่นหละ
4. แม้นจะยก...พระสูตรเรื่อง " อุปาทานขันธ์๕ "...มาสาธยายก็ได้... นี่ก็เป็นเหตุแห่งการบรรลุธรรมเช่นกัน,..
https://84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=22&A=461&Z=514
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๔
อังคุตตรนิกาย ปัญจก-ฉักกนิบาต
๖. วิมุตติสูตร
[๒๖] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้ ซึ่งเป็นเหตุให้
จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น
อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมบรรลุธรรมอันเกษมจากโยคะ
ชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการเป็นไฉน
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง...
- พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ
- แม้ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร
" ก็แต่ว่าภิกษุย่อมทำการสาธยายธรรม...เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร "
เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ในธรรมนั้น
ตามที่ภิกษุสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร
เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ ... เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น
ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๓ ...
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
จบสูตรที่ ๖