PMB 03/02/2
๔
สัมโมหวิโนทน์ อรรถกถาพระวิภังคปกรณ์ แปล
๑. ขันธวิภังค
กายวิญญาณ มโนธาตุ มโนวิญญาณธาตุ ดังนี้เป็นต้นนั้น แล้วทรงแสดงว่า ชื่อ วิญญาณขันธ์
อีกอย่างหนึ่ง ในขันธ์ ๕ นี้ รูปที่เกิดแต่สมุฏฐานสี่แม้ทั้งหมด ชื่อ รูปขันธ์ เวทนาที่เกิด กับจิต ๘๔ ดวง มีกุศลจิต ๘ ฝ่ายกามาวจรเป็นต้น ชื่อ เวทนาขันธ์ สัญญา ชื่อ สัญญาขันธ์ ธรรมมีผัสสะเป็นต้น ชื่อ สังขารขันธ์ จิต ๘๔ ดวง ชื่อ วิญญาณขันธ์ พึงทราบกำหนดข้อธรรม ) ในขันธ์ ๕ แม้อย่างนี้ด้วยประการฉะนี้
له
9.
นิเทศรูปขันธ์
[๒] บัดนี้ พระผู้มีพระภาคเพื่อจะทรงแสดงจำแนกรูปขันธ์เป็นต้นนั้น จึงตรัส บทวิภังค์เป็นอาทิว่า ตตฺถ กตโม รูปกขันโธ (ในขันธ์ ๕ นั้น รูปขันธ์เป็นไฉน)
วินิจฉัยในบทวิภังค์นั้นดังนี้ - บทว่า ตตฺถ แปลว่า ในขันธ์ ๕ นั้น บทว่า กาโม (เป็นไฉน) เป็นกเกตุกัมยตาปุจฉา, บทว่า รูปขันธ์ เป็นบทแสดงข้อธรรมที่ทรงปุจฉา, พระ องค์เมื่อจะทรงจำแนกรูปขันธ์นั้นในบัดนี้ จึงตรัสบทวิภังค์ เป็นอาทิว่า รูปอย่างใดอย่างหนึ่ง ในบทวิภังค์นั้น คำว่า อย่างใดอย่างหนึ่ง เป็นคำกำหนดถือเอาอย่างไม่มีส่วนเหลือ คำว่า รูป เป็นเครื่องกำหนดข้อประสงค์ที่สำคัญ แม้ด้วยบททั้งสองดังอธิบายนี้ ย่อมเป็นอันทรงทำการ กำหนดถือเอารูปอย่างไม่มีส่วนเหลือ
ในเรื่องรูปนั้นมีปัญหาว่า ชื่อว่า รูป ด้วยอรรถว่าอะไร ? เฉลยว่า ชื่อว่า รูป ด้วยอรรถ ว่าย่อยยับ, สมจริงดังพระดำรัสที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ว่า “ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็พวกเธอ เรียกว่ารูปเพราะเหตุไร ? ดูกรภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุที่รูปย่อมย่อยยับแล ฉะนั้นจึง เรียกว่ารูป, รูปย่อยยับเพราะอะไร ? ย่อยยับเพราะความเย็นบ้าง ย่อยยับเพราะความร้อน บ้าง ย่อยยับเพราะความหิวบ้าง ย่อยยับเพราะความระหายบ้าง ย่อยยับเพราะสัมผัส และสัตว์เลื้อยคลานบ้าง ดูกรภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุที่รูปย่อม
เหลือบ เหลือบ ยุง ลม แดด
ย่อยยับแล ฉะนั้นจึงเรียกว่ารูป” ดังนี้
4
จ.
ส. ขันธวารวคฺค ๑๗/๑๐๕
ขันธ์5 (พิสดาร) คัมภีร์สัมโมหวิโนทนี ใช้โปรแกรมocrสแกนข้อความจากหนังสือ
๔
สัมโมหวิโนทน์ อรรถกถาพระวิภังคปกรณ์ แปล
๑. ขันธวิภังค
กายวิญญาณ มโนธาตุ มโนวิญญาณธาตุ ดังนี้เป็นต้นนั้น แล้วทรงแสดงว่า ชื่อ วิญญาณขันธ์
อีกอย่างหนึ่ง ในขันธ์ ๕ นี้ รูปที่เกิดแต่สมุฏฐานสี่แม้ทั้งหมด ชื่อ รูปขันธ์ เวทนาที่เกิด กับจิต ๘๔ ดวง มีกุศลจิต ๘ ฝ่ายกามาวจรเป็นต้น ชื่อ เวทนาขันธ์ สัญญา ชื่อ สัญญาขันธ์ ธรรมมีผัสสะเป็นต้น ชื่อ สังขารขันธ์ จิต ๘๔ ดวง ชื่อ วิญญาณขันธ์ พึงทราบกำหนดข้อธรรม ) ในขันธ์ ๕ แม้อย่างนี้ด้วยประการฉะนี้
له
9.
นิเทศรูปขันธ์
[๒] บัดนี้ พระผู้มีพระภาคเพื่อจะทรงแสดงจำแนกรูปขันธ์เป็นต้นนั้น จึงตรัส บทวิภังค์เป็นอาทิว่า ตตฺถ กตโม รูปกขันโธ (ในขันธ์ ๕ นั้น รูปขันธ์เป็นไฉน)
วินิจฉัยในบทวิภังค์นั้นดังนี้ - บทว่า ตตฺถ แปลว่า ในขันธ์ ๕ นั้น บทว่า กาโม (เป็นไฉน) เป็นกเกตุกัมยตาปุจฉา, บทว่า รูปขันธ์ เป็นบทแสดงข้อธรรมที่ทรงปุจฉา, พระ องค์เมื่อจะทรงจำแนกรูปขันธ์นั้นในบัดนี้ จึงตรัสบทวิภังค์ เป็นอาทิว่า รูปอย่างใดอย่างหนึ่ง ในบทวิภังค์นั้น คำว่า อย่างใดอย่างหนึ่ง เป็นคำกำหนดถือเอาอย่างไม่มีส่วนเหลือ คำว่า รูป เป็นเครื่องกำหนดข้อประสงค์ที่สำคัญ แม้ด้วยบททั้งสองดังอธิบายนี้ ย่อมเป็นอันทรงทำการ กำหนดถือเอารูปอย่างไม่มีส่วนเหลือ
ในเรื่องรูปนั้นมีปัญหาว่า ชื่อว่า รูป ด้วยอรรถว่าอะไร ? เฉลยว่า ชื่อว่า รูป ด้วยอรรถ ว่าย่อยยับ, สมจริงดังพระดำรัสที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ว่า “ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็พวกเธอ เรียกว่ารูปเพราะเหตุไร ? ดูกรภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุที่รูปย่อมย่อยยับแล ฉะนั้นจึง เรียกว่ารูป, รูปย่อยยับเพราะอะไร ? ย่อยยับเพราะความเย็นบ้าง ย่อยยับเพราะความร้อน บ้าง ย่อยยับเพราะความหิวบ้าง ย่อยยับเพราะความระหายบ้าง ย่อยยับเพราะสัมผัส และสัตว์เลื้อยคลานบ้าง ดูกรภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุที่รูปย่อม
เหลือบ เหลือบ ยุง ลม แดด
ย่อยยับแล ฉะนั้นจึงเรียกว่ารูป” ดังนี้
4
จ.
ส. ขันธวารวคฺค ๑๗/๑๐๕