อ่านพร้อมฟัง มหาตัณหาสังขยสูตร ๓ ขันธ์ ๕ ขันธ์เกิด ขันธ์ดับ, อ.สุภีร์ ทุมทอง-บ้านพุทธธรรมสวนหลวง-๒๐ ก.พ.๒๕๖๓

กระทู้สนทนา
***แก้ไขหัวข้อกระทู้จากเดิม  มหาตัณหาสังขยสูตร ๓ เป็น มหาตัณหาสังขยสูตร ๔ นะครับ***
มหาตัณหาสังขยสูตร ๔ เหตุปัจจัยแห่งขันธ์ ๕, อ.สุภีร์ ทุมทอง-บ้านพุทธธรรมสวนหลวง-๒๐ ก.พ.๒๕๖๓
https://www.youtube.com/watch?v=Q50YvQs-HEY
----
ตอนที่แล้ว อ่านพร้อมฟัง
https://ppantip.com/topic/43079975
มหาตัณหาสังขยสูตร ๓ ขันธ์ ๕ ขันธ์เกิด ขันธ์ดับ, อ.สุภีร์ ทุมทอง-บ้านพุทธธรรมสวนหลวง-๒๐ ก.พ.๒๕๖๓
 [๔๔๕]   ภูตมิทํ   ภิกฺขเว   ปสฺสถาติ    ฯ   เอวํ   ภนฺเต  ฯ
ตทาหารสมฺภวนฺติ  ภิกฺขเว  ปสฺสถาติ  ฯ  เอวํ  ภนฺเต ฯ ตทาหารนิโรธา
ยํ   ภูตํ   ตํ   นิโรธธมฺมนฺติ   ภิกฺขเว  ปสฺสถาติ  ฯ  เอวํ  ภนฺเต  ฯ
ภูตมิทํ   โนสฺสูติ   ภิกฺขเว   กงฺขาโต   อุปฺปชฺชติ  วิจิกิจฺฉาติ  ฯ  เอวํ
ภนฺเต   ฯ   ตทาหารสมฺภวํ   โนสฺสูติ   ภิกฺขเว   กงฺขาโต   อุปฺปชฺชติ
วิจิกิจฺฉาติ  ฯ  เอวํ  ภนฺเต  ฯ  ตทาหารนิโรธา  ยํ  ภูตํ  ตํ นิโรธธมฺมํ
โนสฺสูติ   ภิกฺขเว  กงฺขาโต  อุปฺปชฺชติ  วิจิกิจฺฉาติ  ฯ  เอวํ  ภนฺเต  ฯ
ภูตมิทนฺติ   ภิกฺขเว   ยถาภูตํ   สมฺมปฺปญฺญาย   ปสฺสโต   ยา  วิจิกิจฺฉา
สา   ปหิยตีติ  ฯ  เอวํ  ภนฺเต  ฯ  ตทาหารสมฺภวนฺติ  ภิกฺขเว  ยถาภูตํ
สมฺมปฺปญฺญาย ปสฺสโต ยา วิจิกิจฺฉา สา ปหิยตีติ ฯ
     {๔๔๕.๑}   เอวํ  ภนฺเต  ฯ ตทาหารนิโรธา ยํ ภูตํ ตํ นิโรธธมฺมนฺติ
ภิกฺขเว  ยถาภูตํ  สมฺมปฺปญฺญาย  ปสฺสโต  ยา  วิจิกิจฺฉา  สา  ปหิยตีติ ฯ
เอวํ  ภนฺเต  ฯ  ภูตมิทนฺติ  ภิกฺขเว  อิติปิ  โว  เอตฺถ  นิพฺพิจิกิจฺฉาติ ฯ
เอวํ   ภนฺเต   ฯ   ตทาหารสมฺภวนฺติ   ภิกฺขเว   อิติปิ   โว   เอตฺถ
นิพฺพิจิกิจฺฉาติ   ฯ   เอวํ   ภนฺเต   ฯ   ตทาหารนิโรธา   ยํ  ภูตํ  ตํ
นิโรธธมฺมนฺติ   ภิกฺขเว   อิติปิ   โว   เอตฺถ   นิพฺพิจิกิจฺฉาติ  ฯ  เอวํ
ภนฺเต   ฯ   ภูตมิทนฺติ   ภิกฺขเว   ยถาภูตํ  สมฺมปฺปญฺญาย  สุทิฏฺฐนฺติ  ฯ
เอวํ   ภนฺเต   ฯ   ตทาหารสมฺภวนฺติ   ภิกฺขเว  ยถาภูตํ  สมฺมปฺปญฺญาย
สุทิฏฺฐนฺติ  ฯ  เอวํ  ภนฺเต  ฯ  ตทาหารนิโรธา  ยํ  ภูตํ ตํ นิโรธธมฺมนฺติ
ภิกฺขเว   ยถาภูตํ   สมฺมปฺปญฺญาย   สุทิฏฺฐนฺติ   ฯ   เอวํ   ภนฺเต   ฯ
อิมญฺเจ   ตุเมฺห   ภิกฺขเว   ทิฏฺฐึ   เอวํ   ปริสุทฺธํ   เอวํ  ปริโยทาตํ
อลฺลีเยถ  เกฬาเยถ  ธเนยฺยาถ  ๑-  มมาเยถ  อปิ  นุ  ตุเมฺห ภิกฺขเว
กุลฺลูปมํ  ธมฺมํ  เทสิตํ  อาชาเนยฺยาถ  นิตฺถรณตฺถาย  โน คหณตฺถายาติ ฯ
โน  เหตํ  ภนฺเต  ฯ  อิมญฺเจ  ตุเมฺห  ภิกฺขเว  ทิฏฺฐึ เอวํ ปริสุทฺธํ เอวํ
ปริโยทาตํ  น  อลฺลีเยถ  น  เกฬาเยถ  น ธเนยฺยาถ น มมาเยถ อปิ นุ
เม  ตุเมฺห  ภิกฺขเว  กุลฺลูปมํ  ธมฺมํ  เทสิตํ  อาชาเนยฺยาถ นิตฺถรณตฺถาย
โน คหณตฺถายาติ ฯ เอวํ ภนฺเต ฯ
----
สรุปสั้นๆในคลิปนี้
-- ต่อไปพระองค์ก็จะทรงแสดงเหตุปัจจัยของ ขันธ์ 5 โดยละเอียดใน ข้อ 402
40.04
--โดยยกเรื่องอาหารขึ้นมาเป็นหัวข้อ
--อาหารก็เท่ากับขันธ์ 5 นั่นแหละ
--อาหาร 4 กับ ขันธ์ 5 นี่อันเดียวกัน
--ก็มาจาก ตัณหา มาจากปัจจัย
--ท้ายที่สุดก็มาจากอวิชชา
--ท้ายที่สุดมันก็จะลงมาที่กระบวนการปฏิจจสมุปบาทที่ได้โน่นนี่นั่นมาเยอะแยะเพราะอวิชชา
--แล้วพระองค์ก็จะสอบปฏิจจสมุปบาทแต่ละข้อกับภิกษุทั้งหลายว่าเป็นอย่างนี้จริงไม๊
--อย่างที่พระองค์แสดงมีผิดพลาดบกพร่องอะไรไม๊ในความเห็นนะว่าพระองค์แสดงถูกอยู่แล้วถ้าไม่เห็นด้วยก็แสดงว่าผิดที่ผู้ฟัง
--พระองค์แสดงอย่างนี้เห็นด้วยไม๊ เห็นคัดค้านมีอะไรคัดค้านไม๊ตรงนี้
--ไม่มี คล้ายๆอ่านกฏไปทีละข้อ
--ชาติปัจจยา มรณัง เราแสดงไว้อย่างนี้
40.51
--มีใครเห็นด้วยหรือขัดข้องบ้าง
--ใครขัดก็แสดงว่าไม่ได้ผิดที่สอนนะ ผิดที่คนนั้นล่ะ
--ไม่มีใครขัดสักคน ไล่ไปเรื่อยทุกข้อๆไป
--เมื่อฝ่ายเกิดเสร็จ ก็ฝ่ายดับ
--เราแสดงว่าอย่างนี้ ในความเห็นของเธอทุกรูปเนี่ยมีใครเห็นคัดค้านจากนี้บ้างหรือเห็นตามนี้เป๊ะเลย
--ภิกษุก็จะต้องตอบอะไรครับ ต้องเห็นด้วยตลอด นะอย่างนี้ทุกข้อเลย
--ปฏิจจสมุปปบาทมี 11 ประเด็นก็ถามทุกประเด็นเลย
--ประเด็นในฝ่ายเกิด
--ต่อมาก็ถามฝ่ายดับก็ 11 ประเด็น
--พอถามเสร็จเรียบร้อยแล้วพระองค์ก็จะแสดงถึงวิธีปฏิบัติอีกต่อหนึ่ง
--ในตอนต้นก็คล้ายๆกับแสดงสภาวะ ว่า ภาวะไร้ตัณหา คือแบบนี้
--คือความรู้ที่สมบูรณ์ในสิ่งต่างๆเหล่านี้ ก็คือ มีวิชชา มีความรู้
--ก็จะทำให้หมดสิ้นตัณหา
--ตัณหามันเกิดจากอวิชชาใช่ไม๊ ถ้ารู้พวกนี้ก็มีวิชชา ก็ไม่มีตัณหา
--ถ้าไม่มีตัณหา ก็คือ ตัณหาสังขยัง
--คือนิพพาน
--ทีนี้จะถึงภาวะนี้ มีข้อปฏิบัติ ทาน ศีล ภาวนา สำหรับญาติโยม
--สำหรับพระก็เป็น ศีล สมาธิ ปัญญา ต่างๆอย่างนี้ ทำนองนี้นะครับ
--เอาละบรรยายช่วงต้นก็สมควรแก่เวลานะครับ
--อนุโมทนาทุกท่านครับ
--สาธุ
42.17
-------
https://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=12&item=440&items=19
    [๔๔๖]   จตฺตาโรเม   ภิกฺขเว   อาหารา  ภูตานํ  วา  สตฺตานํ
ฐิติยา   สมฺภเวสีนํ   วา  สตฺตานํ  อนุคฺคหาย  ฯ  กตเม  จตฺตาโร  ฯ
กวฬิงฺกาโร   อาหาโร   โอฬาริโก   วา   สุขุโม  วา  ผสฺโส  ทุติโย
มโนสญฺเจตนา  ตติยา  วิญฺญาณํ  จตุตฺถํ  ฯ  อิเม  จ  ภิกฺขเว  จตฺตาโร
อาหารา   กึนิทานา   กึสมุทยา   กึชาติกา   กึปภวา   อิเม  จตฺตาโร
อาหารา        ตณฺหานิทานา       ตณฺหาสมุทยา       ตณฺหาชาติกา
ตณฺหาปภวา    ฯ    ตณฺหา    จายํ    ภิกฺขเว   กึนิทานา   กึสมุทยา
กึชาติกา    กึปภวา    ฯ    ตณฺหา    เวทนานิทานา   เวทนาสมุทยา
เวทนาชาติกา   เวทนาปภวา   ฯ   เวทนา   จายํ  ภิกฺขเว  กึนิทานา
กึสมุทยา   กึชาติกา   กึปภวา   ฯ   เวทนา  ผสฺสนิทานา  ผสฺสสมุทยา
ผสฺสชาติกา   ผสฺสปภวา  ฯ  ผสฺโส  จายํ  ภิกฺขเว  กึนิทาโน  กึสมุทโย
กึชาติโก    กึปภโว    ฯ   ผสฺโส   สฬายตนนิทาโน   สฬายตนสมุทโย
สฬายตนชาติโก   สฬายตนปภโว   ฯ   สฬายตนญฺจิทํ   ภิกฺขเว  กึนิทานํ
@เชิงอรรถ: ๑ ม. ธนาเยถ ฯ สพฺพตฺถ อีทิสเมว ฯ
กึสมุทยํ   กึชาติกํ   กึปภวํ   ฯ   สฬายตนํ  นามรูปนิทานํ  นามรูปสมุทยํ
นามรูปชาติกํ    นามรูปปภวํ    ฯ    นามรูปญฺจิทํ    ภิกฺขเว   กึนิทานํ
กึสมุทยํ   กึชาติกํ   กึปภวํ   ฯ   นามรูปํ   วิญฺญาณนิทานํ  วิญฺญาณสมุทยํ
วิญฺญาณชาติกํ    วิญฺญาณปภวํ    ฯ    วิญฺญาณญฺจิทํ    ภิกฺขเว   กึนิทานํ
กึสมุทยํ   กึชาติกํ   กึปภวํ   ฯ   วิญฺญาณํ   สงฺขารนิทานํ  สงฺขารสมุทยํ
สงฺขารชาติกํ   สงฺขารปภวํ   ฯ   สงฺขารา   จิเม   ภิกฺขเว  กึนิทานา
กึสมุทยา     กึชาติกา    กึปภวา    ฯ    สงฺขารา    อวิชฺชานิทานา
อวิชฺชาสมุทยา   อวิชฺชาชาติกา   อวิชฺชาปภวา   ฯ   อิติ  โข  ภิกฺขเว
อวิชฺชาปจฺจยา    สงฺขารา    สงฺขารปจฺจยา   วิญฺญาณํ   วิญฺญาณปจฺจยา
นามรูปํ     นามรูปปจฺจยา     สฬายตนํ     สฬายตนปจฺจยา    ผสฺโส
ผสฺสปจฺจยา     เวทนา     เวทนาปจฺจยา     ตณฺหา    ตณฺหาปจฺจยา
อุปาทานํ    อุปาทานปจฺจยา    ภโว   ภวปจฺจยา   ชาติ   ชาติปจฺจยา
ชรามรณํ          โสกปริเทวทุกฺขโทมนสฺสุปายาสา          สมฺภวนฺติ
เอวเมตสฺส เกวลสฺส ทุกฺขกฺขนฺธสฺส สมุทโย โหติ ฯ
แก้ไขข้อความเมื่อ
แสดงความคิดเห็น
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่