แสดงจิตที่รับอารมณ์โดยแน่นอน ๔ ประเภท และไม่แน่นอน ๓ ประเภท
คาถาสังคหะ
๑๑.
ปญฺจวีส ปริตฺตมฺหิ ฉ จิตฺตานิ มหคฺคเต
เอกวีสติ โวหาเร อฏฺฐ นิพฺพานโคจเร ฯ
๑๒. วีสานุตฺตรมุตฺตมฺหิ อคฺคมคฺคผลุชฺชิเต
ปญฺจ สพฺพตฺถ ฉ เจติ สตฺตธา ตตฺถ สงฺคโห ฯ
แปลความว่า
- จิต ๒๕ ดวง เกิดขึ้นรับอารมณ์ ๖ ที่เป็น กามธรรม อย่างเดียว
- จิต ๖ ดวง เกิดขึ้นรับธรรมารมณ์ ที่เป็น มหัคคตะ อย่างเดียว
- จิต ๒๑ ดวง เกิดขึ้นรับธรรมารมณ์ ที่เป็น บัญญัติ อย่างเดียว
- จิต ๘ ดวง เกิดขึ้นรับธรรมารมณ์ที่เป็น นิพพาน อย่างเดียว
- จิต ๒๐ ดวง เกิดขึ้นรับธรรมารมณ์ ที่เป็น กามธรรม, มหัคคตธรรม และ บัญญัติธรรม (เว้นโลกุตตรธรรม ๙)
- จิต ๕ ดวง เกิดขึ้นได้ในอารมณ์ ๖ ที่เป็น กามธรรม, มหัคคตธรรม และ บัญญัติธรรม (เว้น อรหัตตมรรค - อรหัตตผล)
- จิต ๖ ดวง เกิดขึ้นได้ในอารมณ์ ๖ ที่เป็น กามธรรม, มหัคคตธรรม, บัญญัติธรรม และ โลกุตตรธรรม ทั้งหมด
ในอารัมมณสังคหะนี้ สงเคราะห์การรับอารมณ์ของจิตได้ ๗ นั้นโดยประเภทรักอารมณ์แน่นอน (เอกันตะ) ๔ และไม่แน่นอน (อเนกันตะ) ๓ ด้วยประการฉะนี้
----------------
ที่มา
https://www.facebook.com/806428996079323/posts/1416850528370497/
-----------------
คือ อาจารย์อาณัติชัย ท่านกล่าวถึง คาถาปัญจวีสปริตตัมหิ เลยต้องค้นคว้าเพิ่มเติมและเจอที่ลิงค์นี้ครับ เลยแปะไว้เพื่อสนับสนุนการศึกษาปัฏฐานในบทที่ 2/17
แสดงจิตที่รับอารมณ์โดยแน่นอน ๔ ประเภท และไม่แน่นอน ๓ ประเภท
คาถาสังคหะ
๑๑. ปญฺจวีส ปริตฺตมฺหิ ฉ จิตฺตานิ มหคฺคเต
เอกวีสติ โวหาเร อฏฺฐ นิพฺพานโคจเร ฯ
๑๒. วีสานุตฺตรมุตฺตมฺหิ อคฺคมคฺคผลุชฺชิเต
ปญฺจ สพฺพตฺถ ฉ เจติ สตฺตธา ตตฺถ สงฺคโห ฯ
แปลความว่า
- จิต ๒๕ ดวง เกิดขึ้นรับอารมณ์ ๖ ที่เป็น กามธรรม อย่างเดียว
- จิต ๖ ดวง เกิดขึ้นรับธรรมารมณ์ ที่เป็น มหัคคตะ อย่างเดียว
- จิต ๒๑ ดวง เกิดขึ้นรับธรรมารมณ์ ที่เป็น บัญญัติ อย่างเดียว
- จิต ๘ ดวง เกิดขึ้นรับธรรมารมณ์ที่เป็น นิพพาน อย่างเดียว
- จิต ๒๐ ดวง เกิดขึ้นรับธรรมารมณ์ ที่เป็น กามธรรม, มหัคคตธรรม และ บัญญัติธรรม (เว้นโลกุตตรธรรม ๙)
- จิต ๕ ดวง เกิดขึ้นได้ในอารมณ์ ๖ ที่เป็น กามธรรม, มหัคคตธรรม และ บัญญัติธรรม (เว้น อรหัตตมรรค - อรหัตตผล)
- จิต ๖ ดวง เกิดขึ้นได้ในอารมณ์ ๖ ที่เป็น กามธรรม, มหัคคตธรรม, บัญญัติธรรม และ โลกุตตรธรรม ทั้งหมด
ในอารัมมณสังคหะนี้ สงเคราะห์การรับอารมณ์ของจิตได้ ๗ นั้นโดยประเภทรักอารมณ์แน่นอน (เอกันตะ) ๔ และไม่แน่นอน (อเนกันตะ) ๓ ด้วยประการฉะนี้
----------------
ที่มา https://www.facebook.com/806428996079323/posts/1416850528370497/
-----------------
คือ อาจารย์อาณัติชัย ท่านกล่าวถึง คาถาปัญจวีสปริตตัมหิ เลยต้องค้นคว้าเพิ่มเติมและเจอที่ลิงค์นี้ครับ เลยแปะไว้เพื่อสนับสนุนการศึกษาปัฏฐานในบทที่ 2/17