ญานทัศนะเป็นการมีผู้ดู ผู้ดูคือผู้เห็นอาการของทั้งรูปนาม เมื่อเป็นญานได้จะไม่มีตัวตนในผู้ดู แยกออกมาห่างจากรูปนามแล้ว ดังนั้นไม่ต้องไปกล่าวหาบุคคลที่มีญานว่ามีอัตตาตัวตน เป็นความไม่รู้ของผู้กล่าวหาต่างหาก แล้วญานมีลักษณะอย่างไร
1.แยกออกมาจากจิต อันเป็นจิตที่มีสมาธิระดับใด ระดับหนึ่ง จึงจะเกิดญานได้
2.ญานที่มีกำลังจะมีลักษณะเป็นทรงกลมแผ่ออกจากตัว รู้ได้ทั้งที่ใกล้ที่ไกล(อารมณ์ภายนอกภายใน)
3.ผัสสะใดที่มีญานไปดู ผัสสะนั้นจะแสดงความเป็นไตรลักษณ์ ปรากฏให้เห็นต่อหน้า ต่อตา (ความรู้สึกเฉพาะหน้า)
4.ญานมาจากจิตที่เป็นฌาน อันเป็นปัญญาญาน อินทรีย์เป็นความหมายอย่างหนึ่งของการมีญาน ใช้ญาน
5.ญานจะมีลักษณะเบา เคลื่อนย้ายที่ได้ เมื่อจะใช้ญานดูอาการทางขันธ์5หรืออายตน จึงต้องรวมจิตให้เป็นสมาธิ ญานจะแยกออกมาจากจิตที่เป็นสมาธินั้น
9ล9
ญานและการใช้ญาน
1.แยกออกมาจากจิต อันเป็นจิตที่มีสมาธิระดับใด ระดับหนึ่ง จึงจะเกิดญานได้
2.ญานที่มีกำลังจะมีลักษณะเป็นทรงกลมแผ่ออกจากตัว รู้ได้ทั้งที่ใกล้ที่ไกล(อารมณ์ภายนอกภายใน)
3.ผัสสะใดที่มีญานไปดู ผัสสะนั้นจะแสดงความเป็นไตรลักษณ์ ปรากฏให้เห็นต่อหน้า ต่อตา (ความรู้สึกเฉพาะหน้า)
4.ญานมาจากจิตที่เป็นฌาน อันเป็นปัญญาญาน อินทรีย์เป็นความหมายอย่างหนึ่งของการมีญาน ใช้ญาน
5.ญานจะมีลักษณะเบา เคลื่อนย้ายที่ได้ เมื่อจะใช้ญานดูอาการทางขันธ์5หรืออายตน จึงต้องรวมจิตให้เป็นสมาธิ ญานจะแยกออกมาจากจิตที่เป็นสมาธินั้น
9ล9