ท้าวมหาพรหม คือ คำเรียกรวมสำหรับพระพรหมทั้งหมดในคติพระพุทธศาสนาหรือเรียกประมุขของชาวสวรรค์ชั้นพรหมภูมิ
ปัญจปุพพนิมิตตสูตร ว่าด้วยบุพพนิมิต ๕ ประการ
ในเวลาที่เทพบุตรหมดบุญจากหมู่เทพ และจะไปจุติ หรือจะลงมาเกิด ย่อมปรากฏบุพพนิมิต ๕ ประการ
๑. ดอกไม้ที่ประดับเหี่ยวแห้ง
๒. พัสตราภรณ์ที่สวมใส่หมองจางลง
๓. เหงื่อไหลออกจากรักแร้
๔. ผิวพรรณเศร้าหมองปรากฏที่กาย
๕. เทพบุตรนั้นจะหมดความยินดีในทิพยสมบัติของตน
เมื่อ เทวดาทราบว่า เทพบุตรนี้จะจุติ ก็พลอยยินดีอวยพรให้ ๓ ประการ คือ
๑. ท่านจากเทวโลกนี้ไปแล้ว ขอให้ได้ไปเกิดในภูมิที่ดี
๒. ท่านได้ไปเกิดในภูมิที่ดีแล้ว ขอให้ได้ลาภอันดี
๓. ท่านครั้นได้ลาภอันดีแล้ว ขอให้ดำรงตนอยู่ด้วยดี
ระดับ
0. พระเจ้า ระดับผู้สร้าง และผู้ทำลายทุกสิ่ง, สร้างธรรมชาติ, สร้างสิ่งแวดล้อม (ความเชื่อในศาสนาคริสต์)
1. นิพพาน (จุดสูงสุดของศาสนาพุทธ ที่สิ่งมีชิวิตอย่างมนุษย์เราสามารถทำได้)
2. พรหม, เทพเจ้า
3. เทวะ, นางฟ้า, เทวดา
4. มนุษย์, คน, สัตว์ประเสริฐ
5. สัตว์
6. เปรต, ผี, วิญญาณ
7. อสูรกาย, ยักษ์, ซาตาน, ปีศาจ, มาร
8. สัตว์นรก
ปรมัตถธรรม คือ คือสิ่งที่มีจริงทุกอย่าง
๑. รูปธรรม คือ สิ่งที่รู้ได้ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย อันได้แก่ รูป เสียง กลิ่น รส และ สิ่งที่สามารถสัมผัสได้ด้วยกาย
๒. นามธรรม คือ ความคิด ความเห็น หรือข้อความที่อ้างถึงปรากฏการณ์ที่ก่อให้เกิดเหตุการณ์หนึ่งหนึ่ง ที่ออกมาเป็นรูปธรรม นามธรรม เป็นกระบวนการคิดที่ไม่ได้ก่อเกิดจากตัวตนของวัตถุจริง และไม่มีรูปร่าง นามธรรมเกิดมาจากความคิดและอารมณ์ในการสร้าง
บุญ เป็น นามธรรม ไม่มีตัวมีตน
- ทาน คือ การให้ ทำให้สภาวะจิตใจมีความสุข
- ปิยะวาจา คือ พูดไพเราะ
- อัฐจริยา คือ พฤติกรรมที่เป็นสิ่งที่มีประโยชน์ต่อตนเอง และผู้อื่น เช่น ทำความดีละทิ้งความชั่วทั้ง กาย วาจา ใจ, เสียสละ, ไม่เห็นแก่ตัว, มีน้ำใจ
- ฝึกจิต พัฒนาจิตให้ผ่องใส
การทำสมาธิ
1. สมถกรรมฐาน และวิปัสสนากรรมฐาน
สมถกรรมฐาน / สมถะ (ปิดให้เหลืออย่างเดียว, อาศัยบริกรรม, ฌาน) มีหลักการ คือ อยากให้จิตสงบมีเรี่ยวมีแรง ก็อย่าให้จิตมันฟุ้งซ่านไป จิตที่ฟุ้งซ่านคือจิตที่จับอารมณ์อันนั้นที จับอารมณ์อันนี้ที เราจับอารมณ์อันนั้นที จับอารมณ์อันนี้ที จิตมันก็ฟุ้งซ่านไปหาอารมณ์ทางตา ทางหู ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย ทางใจ มันฟุ้งไปอย่างนั้น มันไม่สุข ไม่สงบ ทีนี้ถ้าเราอยากให้จิตมันสุข ให้จิตมันสงบ เราก็อยู่ในอารมณ์อันเดียวได้ ไม่วิ่งวุ่นวายเหมือนหมาขี้เรื้อน วิ่งไปที่นู่นวิ่งไปที่นี่เรื่อยๆ
บทสวดก่อนทำสมถกรรมฐาน (เขียนเป็นคำอ่าน จะได้ท่องง่าย)
อะหัง สะมะถะ กัมมัฎฐานัง สะมาทิยามิ
ทุติยัมปิ อะหัง สะมะถะ กัมมัฎฐานัง สะมาทิยามิ
ตะติยัมปิ อะหัง สะมะถะ กัมมัฎฐานัง สะมาทิยามิ
สัพพะทุกขะ นิสสะธะณะ นิพพานะ สัจฉิกะระนัฎฐายะ
ข้าพเจ้าขอสมาทาน สะมะถะกัมมัฎฐาน
แม้ครั้งที่ ๒ ข้าพเจ้าขอสมาทาน สะมะถะกัมมัฎฐาน
แม้ครั้งที่ ๓ ข้าพเจ้าขอสมาทาน สะมะถะกัมมัฎฐาน
เพื่อกระทำนิพพานให้แจ้ง อันเป็นที่สิ้นไปแห่งกองทุกข์ทั้งปวงเทอญฯ
2. วิปัสสนากรรมฐาน / วิปัสสนาญาณ (อารมณ์ปัจจุบันความรู้สึก) การจะทำวิปัสสนากรรมฐานได้ ขั้นแรกต้องหัดเห็นสภาวธรรมก่อน เพราะวิปัสสนากรรมฐานมันเป็นการเห็นไตรลักษณ์ของรูปของนาม เพราะฉะนั้นก่อนอื่น ก่อนที่จะไปเห็นไตรลักษณ์ของรูปของนามได้ ต้องเห็นรูปเห็นนามได้ก่อน เราต้องหัดแยกสภาวะให้ออก เพราะฉะนั้นปัญญาขั้นแรกที่เราจะเดินไปสู่วิปัสสนา
ที่มา :
https://www.dhamma.com/samatha-and-vipassana/
สมาธิ : จิต
สติ : ความระลึกได้
สัมปชัญญะ : ความรู้ตัว
อายตนะ 6 หมายถึงสิ่งที่เป็นสื่อสำหรับติดต่อกัน ทำให้เกิดความรู้สึกขึ้น แบ่งเป็น 2 อย่าง
1. อายตนะภายใน หมายถึงสื่อเชื่อมต่อที่อยู่ในตัวคน บ้างเรียกว่า อินทรีย์ 6 มี 6 คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ทั้งหมดนี้เป็นที่เชื่อมต่อกับอายตนะภายนอก
1. ตา
2. หู
3. จมูก
4. ลิ้น
5. กาย
6. ใจ, ความคิด
2. อายตนะภายนอก หมายถึงสื่อเชื่อมต่อที่อยู่นอกตัวคน บ้างเรียกว่า อารมณ์ 6 มี 6 คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ์ ทั้งหมดนี้เป็นคู่กับอายตนภายใน เช่น รูปคู่กับตา หูคู่กับเสียง เป็นต้น
ซึ่งมันจะเกี่ยวกับเรื่องของ ภพภูมิแดนเกิด ชาติเกิด มรณา(ตาย)
ธรรมะ คือ ธรรมชาติ, หน้าที่, หน้าที่ของธรรมชาติ
ทางธรรม สงบ, เย็น
ทางโลก เวียนวายในอารมณ์ไม่หลุดพ้น
ภพภูมิ
นิพพาน พิเศษ
พรหม 20 ชั้น
สวรรค์ 6 ชั้น
โลก 1 ชั้น
นรก 8 ขุม, นรก พิเศษ 1 ขุม (โลกันตนรก)
12 ราศี แบบจีน
1. ปีชวด : หนู
2. ปีฉลู : โค
3. ปีขาล : เสือ
4. ปีเถาะ : กระต่าย
5. ปีมะโรง : งูใหญ่
6. ปีมะเส็ง : งูเล็ก
7. ปีมะเมีย : ม้า
8. ปีมะแม : แพะ
9. ปีวอก : ลิง
10. ปีระกา : ไก่
11. ปีจอ : หมา
12. ปีกุน : หมู
สวรรค์อยู่ในอก นรกอยู่ในใจ จิตคิดยังไงก็เป็นอย่างงั้น
จิต
ฌาน = พลังจิต
อรหัน = บังคับจิตได้
นิพพาน = จิตสงบ
ศาสนา
1. คริสต์
2. อิสลาม
3. พุทธ (ไม่ทุกข์, กล้าทำในสิ่งที่ถูกต้อง, เสรีภาพ, เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน, ไม่ยุ่งกับผู้อื่นมากเกินไป, มีความอดทน, มีความสำรวม เงียบขรึม)
4. ฮินดู
ลัทธิ, ทิฏฐิ
1. เต๋า
2. บูชาไฟ
ความเชื่อ
1. เลี้ยงผี
ศาสนา เปรียบเหมือนต้นไม้
ศาสนพิธี เปรียบเหมือนเปลือกไม้
ไสยศาสตร์ ศาสต์ดี ศาสตร์มืด ศาสตร์ลับ
หัวใจนักปราชญ์ หรือ การเรียนรู้
สุ = สุตะ คือ การเรียนรู้จากการฟัง
จิ = จินตะ คือ การเรียนรู้จากการรู้จักคิด
ปุ = ปุจฉา คือ การเรียนรู้จากการซักถาม
ลิ = ลิขิต คือ การเรียนรู้จากการจดบันทึก
ฝ่าย
ฝ่ายดี, ธรรมะ เช่น พระเจ้า, เทพเจ้า
ฝ่ายชั่วร้าย, อธรรม เช่น เทพมาร, ซาตาน
ผีทั้ง 6 (เป็นการเปรียบเปยคนผีบ้า)
ผีที่ 1 ชอบดื่มสุราเป็นอาจินไม่ชอบกินข้าวปลาเป็นอาหาร
ผีที่ 2 ชอบเที่ยวยามวิกาล ไม่รักบ้าน รักลูกเมีย และผัวตน
ผีที่ 3 ชอบเที่ยวดูการละเล่น ไม่ละเว้น ผักปลา ละครโขน
ผีที่ 4 ชอบคนชั่ว มั่วกับโจร หนีไม่พ้นอาญาตราแผ่น
ผีที่ 5 ชอบเล่นม้า กีฬาบัติ สารพัด หวย ถั่ว โค ไฮโลสิ้น
ผีที่ 6 ชอบเกียจคล้านการทำกิน มีทั้งสิ้น 6 ผี อัปปรีย์เอย
เรื่องเทวดา และภพภูมิ
ปัญจปุพพนิมิตตสูตร ว่าด้วยบุพพนิมิต ๕ ประการ
ในเวลาที่เทพบุตรหมดบุญจากหมู่เทพ และจะไปจุติ หรือจะลงมาเกิด ย่อมปรากฏบุพพนิมิต ๕ ประการ
๑. ดอกไม้ที่ประดับเหี่ยวแห้ง
๒. พัสตราภรณ์ที่สวมใส่หมองจางลง
๓. เหงื่อไหลออกจากรักแร้
๔. ผิวพรรณเศร้าหมองปรากฏที่กาย
๕. เทพบุตรนั้นจะหมดความยินดีในทิพยสมบัติของตน
เมื่อ เทวดาทราบว่า เทพบุตรนี้จะจุติ ก็พลอยยินดีอวยพรให้ ๓ ประการ คือ
๑. ท่านจากเทวโลกนี้ไปแล้ว ขอให้ได้ไปเกิดในภูมิที่ดี
๒. ท่านได้ไปเกิดในภูมิที่ดีแล้ว ขอให้ได้ลาภอันดี
๓. ท่านครั้นได้ลาภอันดีแล้ว ขอให้ดำรงตนอยู่ด้วยดี
ระดับ
0. พระเจ้า ระดับผู้สร้าง และผู้ทำลายทุกสิ่ง, สร้างธรรมชาติ, สร้างสิ่งแวดล้อม (ความเชื่อในศาสนาคริสต์)
1. นิพพาน (จุดสูงสุดของศาสนาพุทธ ที่สิ่งมีชิวิตอย่างมนุษย์เราสามารถทำได้)
2. พรหม, เทพเจ้า
3. เทวะ, นางฟ้า, เทวดา
4. มนุษย์, คน, สัตว์ประเสริฐ
5. สัตว์
6. เปรต, ผี, วิญญาณ
7. อสูรกาย, ยักษ์, ซาตาน, ปีศาจ, มาร
8. สัตว์นรก
ปรมัตถธรรม คือ คือสิ่งที่มีจริงทุกอย่าง
๑. รูปธรรม คือ สิ่งที่รู้ได้ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย อันได้แก่ รูป เสียง กลิ่น รส และ สิ่งที่สามารถสัมผัสได้ด้วยกาย
๒. นามธรรม คือ ความคิด ความเห็น หรือข้อความที่อ้างถึงปรากฏการณ์ที่ก่อให้เกิดเหตุการณ์หนึ่งหนึ่ง ที่ออกมาเป็นรูปธรรม นามธรรม เป็นกระบวนการคิดที่ไม่ได้ก่อเกิดจากตัวตนของวัตถุจริง และไม่มีรูปร่าง นามธรรมเกิดมาจากความคิดและอารมณ์ในการสร้าง
บุญ เป็น นามธรรม ไม่มีตัวมีตน
- ทาน คือ การให้ ทำให้สภาวะจิตใจมีความสุข
- ปิยะวาจา คือ พูดไพเราะ
- อัฐจริยา คือ พฤติกรรมที่เป็นสิ่งที่มีประโยชน์ต่อตนเอง และผู้อื่น เช่น ทำความดีละทิ้งความชั่วทั้ง กาย วาจา ใจ, เสียสละ, ไม่เห็นแก่ตัว, มีน้ำใจ
- ฝึกจิต พัฒนาจิตให้ผ่องใส
การทำสมาธิ
1. สมถกรรมฐาน และวิปัสสนากรรมฐาน
สมถกรรมฐาน / สมถะ (ปิดให้เหลืออย่างเดียว, อาศัยบริกรรม, ฌาน) มีหลักการ คือ อยากให้จิตสงบมีเรี่ยวมีแรง ก็อย่าให้จิตมันฟุ้งซ่านไป จิตที่ฟุ้งซ่านคือจิตที่จับอารมณ์อันนั้นที จับอารมณ์อันนี้ที เราจับอารมณ์อันนั้นที จับอารมณ์อันนี้ที จิตมันก็ฟุ้งซ่านไปหาอารมณ์ทางตา ทางหู ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย ทางใจ มันฟุ้งไปอย่างนั้น มันไม่สุข ไม่สงบ ทีนี้ถ้าเราอยากให้จิตมันสุข ให้จิตมันสงบ เราก็อยู่ในอารมณ์อันเดียวได้ ไม่วิ่งวุ่นวายเหมือนหมาขี้เรื้อน วิ่งไปที่นู่นวิ่งไปที่นี่เรื่อยๆ
บทสวดก่อนทำสมถกรรมฐาน (เขียนเป็นคำอ่าน จะได้ท่องง่าย)
อะหัง สะมะถะ กัมมัฎฐานัง สะมาทิยามิ
ทุติยัมปิ อะหัง สะมะถะ กัมมัฎฐานัง สะมาทิยามิ
ตะติยัมปิ อะหัง สะมะถะ กัมมัฎฐานัง สะมาทิยามิ
สัพพะทุกขะ นิสสะธะณะ นิพพานะ สัจฉิกะระนัฎฐายะ
ข้าพเจ้าขอสมาทาน สะมะถะกัมมัฎฐาน
แม้ครั้งที่ ๒ ข้าพเจ้าขอสมาทาน สะมะถะกัมมัฎฐาน
แม้ครั้งที่ ๓ ข้าพเจ้าขอสมาทาน สะมะถะกัมมัฎฐาน
เพื่อกระทำนิพพานให้แจ้ง อันเป็นที่สิ้นไปแห่งกองทุกข์ทั้งปวงเทอญฯ
2. วิปัสสนากรรมฐาน / วิปัสสนาญาณ (อารมณ์ปัจจุบันความรู้สึก) การจะทำวิปัสสนากรรมฐานได้ ขั้นแรกต้องหัดเห็นสภาวธรรมก่อน เพราะวิปัสสนากรรมฐานมันเป็นการเห็นไตรลักษณ์ของรูปของนาม เพราะฉะนั้นก่อนอื่น ก่อนที่จะไปเห็นไตรลักษณ์ของรูปของนามได้ ต้องเห็นรูปเห็นนามได้ก่อน เราต้องหัดแยกสภาวะให้ออก เพราะฉะนั้นปัญญาขั้นแรกที่เราจะเดินไปสู่วิปัสสนา
ที่มา : https://www.dhamma.com/samatha-and-vipassana/
สมาธิ : จิต
สติ : ความระลึกได้
สัมปชัญญะ : ความรู้ตัว
อายตนะ 6 หมายถึงสิ่งที่เป็นสื่อสำหรับติดต่อกัน ทำให้เกิดความรู้สึกขึ้น แบ่งเป็น 2 อย่าง
1. อายตนะภายใน หมายถึงสื่อเชื่อมต่อที่อยู่ในตัวคน บ้างเรียกว่า อินทรีย์ 6 มี 6 คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ทั้งหมดนี้เป็นที่เชื่อมต่อกับอายตนะภายนอก
1. ตา
2. หู
3. จมูก
4. ลิ้น
5. กาย
6. ใจ, ความคิด
2. อายตนะภายนอก หมายถึงสื่อเชื่อมต่อที่อยู่นอกตัวคน บ้างเรียกว่า อารมณ์ 6 มี 6 คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ์ ทั้งหมดนี้เป็นคู่กับอายตนภายใน เช่น รูปคู่กับตา หูคู่กับเสียง เป็นต้น
ซึ่งมันจะเกี่ยวกับเรื่องของ ภพภูมิแดนเกิด ชาติเกิด มรณา(ตาย)
ธรรมะ คือ ธรรมชาติ, หน้าที่, หน้าที่ของธรรมชาติ
ทางธรรม สงบ, เย็น
ทางโลก เวียนวายในอารมณ์ไม่หลุดพ้น
ภพภูมิ
นิพพาน พิเศษ
พรหม 20 ชั้น
สวรรค์ 6 ชั้น
โลก 1 ชั้น
นรก 8 ขุม, นรก พิเศษ 1 ขุม (โลกันตนรก)
12 ราศี แบบจีน
1. ปีชวด : หนู
2. ปีฉลู : โค
3. ปีขาล : เสือ
4. ปีเถาะ : กระต่าย
5. ปีมะโรง : งูใหญ่
6. ปีมะเส็ง : งูเล็ก
7. ปีมะเมีย : ม้า
8. ปีมะแม : แพะ
9. ปีวอก : ลิง
10. ปีระกา : ไก่
11. ปีจอ : หมา
12. ปีกุน : หมู
สวรรค์อยู่ในอก นรกอยู่ในใจ จิตคิดยังไงก็เป็นอย่างงั้น
จิต
ฌาน = พลังจิต
อรหัน = บังคับจิตได้
นิพพาน = จิตสงบ
ศาสนา
1. คริสต์
2. อิสลาม
3. พุทธ (ไม่ทุกข์, กล้าทำในสิ่งที่ถูกต้อง, เสรีภาพ, เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน, ไม่ยุ่งกับผู้อื่นมากเกินไป, มีความอดทน, มีความสำรวม เงียบขรึม)
4. ฮินดู
ลัทธิ, ทิฏฐิ
1. เต๋า
2. บูชาไฟ
ความเชื่อ
1. เลี้ยงผี
ศาสนา เปรียบเหมือนต้นไม้
ศาสนพิธี เปรียบเหมือนเปลือกไม้
ไสยศาสตร์ ศาสต์ดี ศาสตร์มืด ศาสตร์ลับ
หัวใจนักปราชญ์ หรือ การเรียนรู้
สุ = สุตะ คือ การเรียนรู้จากการฟัง
จิ = จินตะ คือ การเรียนรู้จากการรู้จักคิด
ปุ = ปุจฉา คือ การเรียนรู้จากการซักถาม
ลิ = ลิขิต คือ การเรียนรู้จากการจดบันทึก
ฝ่าย
ฝ่ายดี, ธรรมะ เช่น พระเจ้า, เทพเจ้า
ฝ่ายชั่วร้าย, อธรรม เช่น เทพมาร, ซาตาน
ผีทั้ง 6 (เป็นการเปรียบเปยคนผีบ้า)
ผีที่ 1 ชอบดื่มสุราเป็นอาจินไม่ชอบกินข้าวปลาเป็นอาหาร
ผีที่ 2 ชอบเที่ยวยามวิกาล ไม่รักบ้าน รักลูกเมีย และผัวตน
ผีที่ 3 ชอบเที่ยวดูการละเล่น ไม่ละเว้น ผักปลา ละครโขน
ผีที่ 4 ชอบคนชั่ว มั่วกับโจร หนีไม่พ้นอาญาตราแผ่น
ผีที่ 5 ชอบเล่นม้า กีฬาบัติ สารพัด หวย ถั่ว โค ไฮโลสิ้น
ผีที่ 6 ชอบเกียจคล้านการทำกิน มีทั้งสิ้น 6 ผี อัปปรีย์เอย