คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 87
ไม่มีตรงไหนเลยที่บอกว่าบุคคลห้ามนิพพาน
อริยบุคคล แปลว่า บุคคลผู้ประเสริฐ, ผู้ไกลจากข้าศึก,
ผู้หักกำล้อสังสารวัฏได้แล้วแบ่งได้หลายประเภทคือแบ่งอย่างใหญ่ได้เป็น
พระเสขะและพระอเสขะ
แบ่งตามประเภทบุคคลมี 4 ประเภทคือ
พระโสดาบัน พระสกิทาคามี พระอนาคามี และพระอรหันต์
และยังแบ่งย่อยเป็น 8 ประเภท จัดเป็น 4 คู่ได้อีก
อริยบุคคล แปลว่า บุคคลผู้ประเสริฐ, ผู้ไกลจากข้าศึก,
ผู้หักกำล้อสังสารวัฏได้แล้วแบ่งได้หลายประเภทคือแบ่งอย่างใหญ่ได้เป็น
พระเสขะและพระอเสขะ
แบ่งตามประเภทบุคคลมี 4 ประเภทคือ
พระโสดาบัน พระสกิทาคามี พระอนาคามี และพระอรหันต์
และยังแบ่งย่อยเป็น 8 ประเภท จัดเป็น 4 คู่ได้อีก
▼ กำลังโหลดข้อมูล... ▼
แสดงความคิดเห็น
คุณสามารถแสดงความคิดเห็นกับกระทู้นี้ได้ด้วยการเข้าสู่ระบบ
สภาวะนิพพาน
จิตเพียงแต่ไปสัมผ้สความสันติสุขนั้น
จึงไม่มีจิตในนิพพาน
จิตลักษณะนี้เรียกว่าจิตมี สภาวะนิพพาน
จิตไม่ใช่นิพพาน
นิพพานไม่ใช่จิต
แต่จิตมีสภาวะนิพพาน
จิตไม่มีตัณหา จิตมีสภาวะที่นิพพาน
จิตรู้รสนิพพาน
ยกตัวอย่างแบบชาวบ้าน
เหมือนตนกินข้าว
ตนเป็นผู้รู้รสอาหาร
ตนคือจิต
รสอาหารคือนิพพาน
ฉนั้นจิตมีคุณลักษณะที่นิพพานตั้งอยู่ที่จิต
นิพพานตั้งอยู่ที่จิตไม่ได้หมายถึงจิตคือนิพพาน
ยกตัวอย่างอีกหนึ่งตัวอย่าง
เหมือนตนนั่งอยู่ในห้องคนเดียวเป็นส่วนต้ว
ไม่มีใครมาหาตนเจอ
ไม่มีใครมาทำร้ายตนได้แม้กระทั่งความตาย
มัจจุราชก็หาไม่พบ
ในที่นี้ ตนก็คือจิต สภาวะส่วนตัวก็คือนิพพาน
จิตที่มีสภาวะที่เป็นความส่วนตัว
สภาวะความเป็นส่วนตัว คือนิพพาน
คือไม่มีใครมายุ่งเกี่ยวกับตนได้เลย
ทุกข์ ตัณหากิเลส ความตาย
ไม่มีสิ่งเหล่านี้มากระทบตนได้เลย
ธรรมชาติแบบนี้เรียกว่านิพพาน