รู้ 1.นาม สภาวะอารมณ์ความรู้สึก กิเลส ที่อาศัย 2.รูป วัตถุธาตุ กาม เรียกวิญญาณธุาตุ จิตใจ กิเลสกาม(นิกคิดพูดทำ)

1.รู้ จักนาม นึกคิด เกิดสภาวะอารมณ์ความรู้สึก กิเลส-รูป พูดทำ แสวงหาวัตถุธาตุ กาม (เพื่อทำดวงตาให้เกิด)

นาม จิต {เจตสิก ปรุงแต่ง อกุศล14 อนุโลมปฏิจจสมุปบาท12 นิวรณ์5 สังโยชน์10
วิญญาณ(อวิชชา เวทนา สัญญา) สัญชาตญาณการนึกคิด สภาวะอารมณ์ความรู้สึก ความเชื่อความเห็น(กิเลส) }

ที่อาศัย(ผัสสะ) รูป ร่างกาย วัตถุธาตุ กาม เรียกวิญญาณธาตุ จิตใจ นามสภาวะกิเลส-รูปวัตถุธาตุกาม
สฬายตนะผัสสะวิญญาณ(อวิชชา เวทนา สัญญา) สืบต่อ สังขาร
คือสัญชาตญาณการนึกคิด กิเลส สืบต่อสัญชาตญาณการพูดทำเลี้ยงชีพทางโลก กาม
เกิดความรู้ ความจำได้หมายรู้ในการปรุงแต่ง ที่เกิดเจตนา เป้าหมาย หรืออารมณ์ความรู้สึก
สืบต่อความเชื่อความเห็นในส่วนที่สุดสองอย่าง(นามสภาวะกิเลส-รูปวัตถุธาตุกาม)
ส่วนที่สุด1 การประกอบตนให้พัวพันด้วยกามสุขในกามทั้งหลาย
โลภ รัก พอใจติดใจ เกิดอารมณ์ความรู้สึก สุขสบายใจ บุญ วิญญาณผู้มีกิเลสในสวรรค์
(พระธรรม ชรา-มรณะ กฎไตรลักษณ์ สังสารวัฏเกิดพร้อมสืบต่อ)
ส่วนที่สุด2 การประกอบความเหน็ดเหนื่อยแก่ตน เป็นความลำบาก
โกรธ เกลียด ไม่พอใจขัดใจ เกิดอารมณ์ความรู้สึก ลำบากใจ ร้อนใจ แค้นใจ  พยาบาท บาป วิญาณผู้มีกิเลสในนรก
และความหลง ลังเล สับสน ไม่แน่ใจ ฟุ้งซ่าน เกิดอารมณ์ความรู้สึก ห่วงกังวลกลัว เหงา หดหู่ ท้อแท้หมดกำลังใจ
หรือซึมเศร้า เสียใจ ทุกข์ วิญญาณผู้มีกิเลสในโลก

เจตนา เป้าหมาย หรืออารมณ์ความรู้สึก สืบต่อความเชื่อความเห็นในส่วนที่สุดสองอย่าง(นามสภาวะกิเลส-รูปวัตถุธาตุกาม)
ประกอบกับความเพลินเคยชิน สืบต่อนิสัย สันดาน ข้ามภพ ชาติ(ชรา-มรณะ สังสารวัฏ) เรียกสัญชาตญาณ
ความรู้ ความจำได้หมายรู้ในสภาวะอารมณ์ความรู้สึก ความเชื่อความเห็น(กิเลส) คือ วิญญาณ(อวิชชา เวทนา สัญญา)

*รู้ตักจิตกุศลฌาน วิตก วิจาร ปิติ สุข(ตรึก ตรองในอารมณ์เดียว ฌาน)
สงบ เกิดความหยั่งรู้ในนามธรรม(ญาณ) เรียกรูปพรหม ฌาน สืบต่ออรูปพรหม ญาณ ในพรหมโลก
การเพ่งอารมณ์ สภาวะจิตสงบประณีต สงบจากอารมณ์ความรู้สึก สงบจากความเชื่อความเห็น(ฌาน สืบต่อญาณ)
เพราะไม่ได้พูดทำเลี้ยงชีพทางโลก และทางพระธรรม หลงอยู่ในฌาน เกิดสภาวะจิตกุศล
(ชรา-มรณะ  ความเสื่อม ดับจากฌาน หรือหมดญาณ เกิดพร้อมสืบต่อ สังสารวัฏ คือ
จิตอกุศล14 {วิญญาณ อวิชชา เวทนา สัญญา สัญชาตญาณ กิเลส สังสารวัฏ} ) *

2.ละกิเลสกาม ทำญาณให้เกิด(พร้อมสืบต่อให้เกิดปัญญาญาณ
ด้วย 6.ความเพียร 7.พิจารณาตามเห็นทำในใจอย่างดี ในการสละ ละ ไม่พัวพันในนามกิเลส-รูปกาม
พร้อมปักใจปลงใจในชรา-มรณะ เป็นเรื่องปกติธรรมตามกฎไตรลักษณ์
8.พร้อมตั้งจิตประคองจิตให้เกิดสภาวะสงบจากอารมณ์ความรู้สึก สงบจากความเชื่อความเห็น ซื่อตรงเป็นกลางในความรู้
3.พูดทำเลี้ยงชีพชอบด้วยพระธรรม แม้จะเกิดชรา-มรณะ คือการถูกเบียดเบียนทำร้ายทำลาย จิตก็สงบอยู่ได้)


นาม จิต {เจตสิก ละการปรุงแต่ง ละอกุศล14 ปฏิโลมปฏิจจสมุปบาท12 ละนิวรณ์5 ละสังโยชน์10
ละวิญญาณ(ละอวิชชา ละเวทนา ละสัญญา)  ละสัญชาตญาณการนึกคิด สภาวะละอารมณ์ความรู้สึก ละความเชื่อความเห็น(ละกิเลส) }

ที่อาศัย(ผัสสะ) รูป ร่างกาย วัตถุธาตุ กาม เรียกวิญญาณธาตุ จิตใจ นามสภาวะละกิเลส-ละรูปวัตถุธาตุกาม
สฬายตนะผัสสะละวิญญาณ(ละสัญชาตญาณการนึกคิด กิเลส สืบต่อละสัญชาตญาณการพูดทำเลี้ยงชีพทางโลก กาม)
คือความรู้ ละความจำได้หมายรู้ในการปรุงแต่ง ที่เกิดเจตนา เป้าหมาย หรืออารมณ์ความรู้สึก
สืบต่อละความเชื่อความเห็นในส่วนที่สุดสองอย่าง(นามสภาวะละกิเลส-ละรูปวัตถุธาตุกาม)

ละเจตนา หรือละอารมณ์ความรู้สึก สืบต่อละความเชื่อความเห็นในส่วนที่สุดสองอย่าง(นามสภาวะละกิเลส-ละรูปวัตถุธาตุกาม)
ประกอบกับ ละความเพลินเคยชิน สืบต่อละนิสัย ละสันดาน ข้ามภพ ชาติ(ชรา-มรณะ สังสารวัฏ) เรียกสติชอบ หรือญาณ
ความรู้ ละความจำได้หมายรู้ในสภาวะอารมณ์ความรู้สึก ละความเชื่อความเห็น(ละกิเลส) คือ ญาณ(วิชชา ละเวทนา ละสัญญา)
*ไม่ข้ามภพ ชาติ(เพราะปักใจปลงใจลงในชรา-มรณะ ละสังสารวัฏ ได้) เรียกปัญญาญาณ
เกิดจิตมหากุศล คือ การถูกเบียดเบียนทำร้ายทำลาย จากธรรมชาติ หรือคน ก็มีสภาวะจิตสงบอยู่ได้(1.อุเบกขา สมาธิชอบ)
พร้อมปรารถนาให้ผู้ทำร้ายเราพ้นจากทุกข์(พ้นจากความเห็นผิดทางโลก) ยินดีที่เขาได้สุข(2.เมตตา 3.กรุณา 4.มุทิตา ทางพระธรรม)*
แก้ไขข้อความเมื่อ
แสดงความคิดเห็น
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่