พระธรรม(พระพุทธเจ้า) ที่มีเนื้อหามากมาย หลายบท หลายหมวด หลายนิกาย เพราะพระธรรมนั้นเป็นเรืองของทางโลก
ทางโลกทางแห่งการปรุงแต่งจากหนึ่งเป็นสอง สืบต่อๆไปไม่รู้จบ จนสิ่งที่ไม่มีอยู่จริงก็เกิดขึ้นมีอยู่จริง สิ่งที่มีอยู่จริงก็ดับสูญไปไม่มีอยู่จริง
พิจารณาทำในใจให้ดีในพระธรรมทั้งลายที่รู้ จากการได้ยิน ได้เห็น ได้ฟัง หรือหยั่งรู้ได้เอง แล้วเลือกมาเพียงหนึ่งที่เห็นว่าเป็นแก่น เป็นแกน เป็นหัวใจ นำมาเป็นหลัก แล้วโน้มพระธรรมอื่นๆเข้ามาเทียบเคียงว่าสืบต่อ สอดคล้องต้องกัน หรือไม่
พระธรรมทั้งลายเกิดจากหนึ่ง แล้วสืบต่อสอดคล้องไม่ขัดกัน แตกขยายออกไปไม่จบสิ้น พระธรรมใดที่ขัดกัน พิจารณาเลือกให้ดี
ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร เป็นปฐมเทศนา เทศนากัณฑ์แรก ที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงแก่พระปัญจวัคคีย์
ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร เป็นแกน แก่น เจตนา เป้าหมาย เส้นทาง ดวงตา ญาณ หัวใจของพระธรรม ที่สืบต่อ
ให้เกิดเนื้อหาทั้งหลายในพระธรรม สืบต่อๆตามกันมา เนื้อหาข้อความในพระธรรมใดๆ ขัดกับธัมมจักกัปปวัตตนสูตร
พิจาณาทำในใจแยกให้ออก ว่าธรรมใดเป็นเรื่องของทางโลก จิตอกุศล14 ธรรมใดเป็นเรื่องของทางพระธรรม จิตกุศล25
และธรรมใดเป็นเรื่องของฌาน สืบต่อญาณ จิตกุศล ความหลงติดใจในฌาน เพราะไม่ได้อยู่ในทางโลก และทางพระธรรม
โอวาทปาฏิโมกข์
ทำความดี ละเว้นความไม่ดี(เห็นทางโลก เห็นชอบ ทำดวงตาให้เกิด) สืบต่อ
ทำจิตใจให้บริสุทธิ์ เป็นกลาง สงบ ซื่อตรงในอารมณ์(คิดชอบ ทำญาณให้เกิด)
ให้เกิดดวงตา และญาณ สืบต่อเนื่องไม่ขาดตอน คือทางพระธรรม
ความดี ทางโลก อกุศล14 บุญ อารมณ์ความรู้สึก หรือความเชื่อความเห็นผิด(ในทางพระธรรม) 1.ความสุขสบายใจ บุญ
ชรา-มรณะ เกิดพร้อมสืบต่อ 2.ความไม่ดี โกรธลำบากใจบาป และหลงลังเลใจ ซึมเศร้าเสียใจทุกข์
ความดี ทางพระธรรม กุศล25 เป็นกลาง สงบ ซื่อตรงในอารมณ์ สงบจากความเชื่อความเห็นทางโลก
ละบุญบาป สุขทุกข์ ละอารมณ์ความรู้สึก ละความเชื่อความเห็นผิดในทางโลก ที่ทำให้เกิดส่วนที่เป็นสุดสองอย่าง
ส่วนที่สุด1 ทำความดี ละเว้นส่วนที่สุด2 ความไม่ดี เป็นเรื่องทางโลก(จิตอกุศล14)
ทางโลกเห็นว่าอะไรดีก็ทำไป เห็นว่าอะไรไม่ดีก็เว้นอย่าทำ
ทางโลก จิตอกุศล14(สังโยชน์1-5) 1-4.เห็นผิด สืบต่อ 5-7.โลภ ส่วนที่สุด1 สุขสบายใจบุญ
(ชรา-มรณะ เกิดพร้อมสืบต่อ ส่วนที่สุด2 8-11.โกรธ ลำบากใจ บาป และ 12-14.หลงลังเลใจ และหดหู่ ซึมเศร้าเสียใจทุกข์)
ส่วนที่สุด1 ทำความดี คือความเห็นทางโลก(ไม่ใช่ความเห็นชอบในทางพระธรรม)
โลภ รัก อยากได้วัตถุ-สภาวะ เห็นผิดยินดียอมให้ยอมเสีย เพื่อตัวตนของตน หรือคนอื่นได้มีเป็นอยู่ตามที่ต้องการ
ถือตน ได้มีเป็นอยู่ตามที่ต้องการเกิดความภูมิใจ สุขสบายใจ(บุญ วิญญาณผู้มีกิเลสโลภในสวรรค์)
แม้มีทาน ศีล เพียร สติ สมาธิ ปัญญาทางโลก หรือทำดี(สุขสบายใจ) ทำบุญ(สุขสบายใจ) มากมายพียงใด
แต่ไม่เคยฝึกตั้งจิตประคองจิตให้เป็นกลาง สงบ ซื่อตรงในอารมณ์
เมื่อชรา-มรณะ เกิดขึ้น คือความเสื่อม แก่ เจ็บ จากเป็นหรือจากตาย รวมถึง
การถูกเบียดเบียนทำร้ายทำลายจากธรรมชาติ หรือจากการนึกคิดพูดทำเลี้ยงชีพทางโลกของคน(รวมถึงตนเอง)
ชรา-มรณะ เกิดตามกฎไตรลักษณ์ สืบต่อสังสารวัฏ เกิดพร้อมความไม่ได้ ไม่มี ไม่เป็นอยู่ตามที่ต้องการ ทำให้ผิดหวัง ไม่สมปรารถนา
เป็นเหตุปัจจัยทำให้สืบต่อ ส่วนที่สุด2 คือ ความโกรธเกลียด ลำบากใจ ร้อนใจ แค้นใจ พยาบาท (บาป วิญญาณผู้มีกิเลสโกรธในนรก)
และ ความหลงลังเลสับสนไม่แน่ใจ ห่วงกังวลกลัว เหงา หดหู่ท้อแท้ หรือซึมเศร้าเสียใจ (ทุกข์ วิญญาณผู้มีกิเลสหลงในโลก)
อานิสงส์ ทางโลกดูจากนามกิเลส-รูปกาม การแสวงหาวัตถุ-สภาวะ มีวัตถุมากน้อยพียงไร-อารมณ์ความรู้สึกเป็นอย่างไร
ทางวิญญาณ ไม่มีรูปกายหยาบอาศัย(ผัสสะ) มีเพียงนาม จึงดูจากสภาวะอารมณ์ความรู้สึกหรือความเชื่อความเห็น(เกิดกิเลส อกุศล หรือ ละกิเลส กุศล)
วิญญาณผู้มีกิเลสในสามภพ โลภสวรรค์ โกรธนรก หลงโลก ย่อมเวียนว่ายเกิดเสื่อมดับอยู่ในอารมณ์ความรู้สึก
หรือความเชื่อความเห็นในส่วนที่เป็นที่สุดทั้งสอง(นาม สภาวะกิเลส อาศัย(ผัสสะ) รูป วัตถุกาม)
จิตสุดท้ายก่อนตาย ก่อนที่วิญญาณจะแยกออกจากร่างกาย อารมณ์ความรู้สึกเป็นอย่างไร จิตวิญญาณก็มุ่งไปในภพ ที่แห่งนั้นๆ
พร้อมสืบต่ออารมณ์ความรู้สึก หรือความเชื่อความเห็น ที่เกิดบ่อยๆเป็นนิสัย สันดาน สัญชาตญาณ กิเลส เหมือนตอนที่อยู่ในภพโลก
ทำจิตใจให้บริสุทธิ์(จิตกุศล สังโยชน์6-10) เป็นเรื่องของฌาน1-4 รูปพรหม สืบต่อ 5-8 อรูปพรหม(ญาณ)
การเพ่งอารมณ์ ในอารมณ์เดียว จนเกิดปิติ สุข สงบ สืบต่อความหยั่งรู้ในนามธรรมทั้งหลาย(ญาณ)
คือความหลงติดใจในฌาน เพราะไม่ได้พูดทำเลี้ยงชีพทางโลก และทางพระธรรม
ชรา-มรณะ ความเสื่อ ดับ ออกจากฌาน หรือหมดญาณ กลับมาเกิดวิญญาณ สืบต่อทางโลก จิตอกุศล14 หรือทางพระธรรม จิตกุศล25
ทางพระธรรม ละวางไม่พัวพันในส่วนที่เป็นที่สุดสองอย่างทางโลก ที่ดีและไม่ดี บริสุทธิ์และไม่บริสุทธิ์ (นามกิเลส-รูปกาม)
จิตกุศล25 1-4.เห็นชอบ 1-6.คิดชอบ เพียรชอบ สติชอบ 1-19.สมาธิชอบ 1-22.พูดทำเลี้ยงชีพชอบ
1-24.จิตมหากุศล แผ่กุศลออกไปข้ามภพชาติให้กับวิญญาณผู้มีกิเลสในสามภพ 1-25.ปัญญาญาณ ละสังสารวัฏ
พร้อมในการสละ ละ วาง ความดีไม่ดี พอใจไม่พอใจ โลภโกรธ สุขทุกข์ บุญบาป สวรรค์นรก ในส่วนที่เป็นที่สุดสองอย่างทางโลก
พร้อมสืบต่อตั้งจิตประคองจิตให้เกิดความเป็นกลาง สงบ ซื่อตรงในความรู้ ไม่เกิดอารมณ์ความรู้สึกโลภโกรธ จึงไม่หลง
สงบจากความเชื่อความเห็น จะพูดทำเลี้ยงชีพอย่างไรย่อมชอบตามพระธรรม แม้เกิดชรา-มรณะ คือความเสื่อม แก่ เจ็บ จากเป็น หรือจากตาย รวมถึง การถูกเบียดเบียนทำร้ายทำลายจากธรรมชาติ หรือจากการนึกคิดพูดทำเลี้ยงชีพของคน
ก็ไม่กลับมาเวียนว่ายตายเกิดอยู่ในอารมณ์ความรู้สึก หรือในความเชื่อความเห็นในทางโลกอีก ปัญญาญาณละสังสารวัฏ
ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร อะไรคือดวงตา อะไรคือญาณ
ทางโลกทางแห่งการปรุงแต่งจากหนึ่งเป็นสอง สืบต่อๆไปไม่รู้จบ จนสิ่งที่ไม่มีอยู่จริงก็เกิดขึ้นมีอยู่จริง สิ่งที่มีอยู่จริงก็ดับสูญไปไม่มีอยู่จริง
พิจารณาทำในใจให้ดีในพระธรรมทั้งลายที่รู้ จากการได้ยิน ได้เห็น ได้ฟัง หรือหยั่งรู้ได้เอง แล้วเลือกมาเพียงหนึ่งที่เห็นว่าเป็นแก่น เป็นแกน เป็นหัวใจ นำมาเป็นหลัก แล้วโน้มพระธรรมอื่นๆเข้ามาเทียบเคียงว่าสืบต่อ สอดคล้องต้องกัน หรือไม่
พระธรรมทั้งลายเกิดจากหนึ่ง แล้วสืบต่อสอดคล้องไม่ขัดกัน แตกขยายออกไปไม่จบสิ้น พระธรรมใดที่ขัดกัน พิจารณาเลือกให้ดี
ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร เป็นปฐมเทศนา เทศนากัณฑ์แรก ที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงแก่พระปัญจวัคคีย์
ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร เป็นแกน แก่น เจตนา เป้าหมาย เส้นทาง ดวงตา ญาณ หัวใจของพระธรรม ที่สืบต่อ
ให้เกิดเนื้อหาทั้งหลายในพระธรรม สืบต่อๆตามกันมา เนื้อหาข้อความในพระธรรมใดๆ ขัดกับธัมมจักกัปปวัตตนสูตร
พิจาณาทำในใจแยกให้ออก ว่าธรรมใดเป็นเรื่องของทางโลก จิตอกุศล14 ธรรมใดเป็นเรื่องของทางพระธรรม จิตกุศล25
และธรรมใดเป็นเรื่องของฌาน สืบต่อญาณ จิตกุศล ความหลงติดใจในฌาน เพราะไม่ได้อยู่ในทางโลก และทางพระธรรม
โอวาทปาฏิโมกข์
ทำความดี ละเว้นความไม่ดี(เห็นทางโลก เห็นชอบ ทำดวงตาให้เกิด) สืบต่อ
ทำจิตใจให้บริสุทธิ์ เป็นกลาง สงบ ซื่อตรงในอารมณ์(คิดชอบ ทำญาณให้เกิด)
ให้เกิดดวงตา และญาณ สืบต่อเนื่องไม่ขาดตอน คือทางพระธรรม
ความดี ทางโลก อกุศล14 บุญ อารมณ์ความรู้สึก หรือความเชื่อความเห็นผิด(ในทางพระธรรม) 1.ความสุขสบายใจ บุญ
ชรา-มรณะ เกิดพร้อมสืบต่อ 2.ความไม่ดี โกรธลำบากใจบาป และหลงลังเลใจ ซึมเศร้าเสียใจทุกข์
ความดี ทางพระธรรม กุศล25 เป็นกลาง สงบ ซื่อตรงในอารมณ์ สงบจากความเชื่อความเห็นทางโลก
ละบุญบาป สุขทุกข์ ละอารมณ์ความรู้สึก ละความเชื่อความเห็นผิดในทางโลก ที่ทำให้เกิดส่วนที่เป็นสุดสองอย่าง
ส่วนที่สุด1 ทำความดี ละเว้นส่วนที่สุด2 ความไม่ดี เป็นเรื่องทางโลก(จิตอกุศล14)
ทางโลกเห็นว่าอะไรดีก็ทำไป เห็นว่าอะไรไม่ดีก็เว้นอย่าทำ
ทางโลก จิตอกุศล14(สังโยชน์1-5) 1-4.เห็นผิด สืบต่อ 5-7.โลภ ส่วนที่สุด1 สุขสบายใจบุญ
(ชรา-มรณะ เกิดพร้อมสืบต่อ ส่วนที่สุด2 8-11.โกรธ ลำบากใจ บาป และ 12-14.หลงลังเลใจ และหดหู่ ซึมเศร้าเสียใจทุกข์)
ส่วนที่สุด1 ทำความดี คือความเห็นทางโลก(ไม่ใช่ความเห็นชอบในทางพระธรรม)
โลภ รัก อยากได้วัตถุ-สภาวะ เห็นผิดยินดียอมให้ยอมเสีย เพื่อตัวตนของตน หรือคนอื่นได้มีเป็นอยู่ตามที่ต้องการ
ถือตน ได้มีเป็นอยู่ตามที่ต้องการเกิดความภูมิใจ สุขสบายใจ(บุญ วิญญาณผู้มีกิเลสโลภในสวรรค์)
แม้มีทาน ศีล เพียร สติ สมาธิ ปัญญาทางโลก หรือทำดี(สุขสบายใจ) ทำบุญ(สุขสบายใจ) มากมายพียงใด
แต่ไม่เคยฝึกตั้งจิตประคองจิตให้เป็นกลาง สงบ ซื่อตรงในอารมณ์
เมื่อชรา-มรณะ เกิดขึ้น คือความเสื่อม แก่ เจ็บ จากเป็นหรือจากตาย รวมถึง
การถูกเบียดเบียนทำร้ายทำลายจากธรรมชาติ หรือจากการนึกคิดพูดทำเลี้ยงชีพทางโลกของคน(รวมถึงตนเอง)
ชรา-มรณะ เกิดตามกฎไตรลักษณ์ สืบต่อสังสารวัฏ เกิดพร้อมความไม่ได้ ไม่มี ไม่เป็นอยู่ตามที่ต้องการ ทำให้ผิดหวัง ไม่สมปรารถนา
เป็นเหตุปัจจัยทำให้สืบต่อ ส่วนที่สุด2 คือ ความโกรธเกลียด ลำบากใจ ร้อนใจ แค้นใจ พยาบาท (บาป วิญญาณผู้มีกิเลสโกรธในนรก)
และ ความหลงลังเลสับสนไม่แน่ใจ ห่วงกังวลกลัว เหงา หดหู่ท้อแท้ หรือซึมเศร้าเสียใจ (ทุกข์ วิญญาณผู้มีกิเลสหลงในโลก)
อานิสงส์ ทางโลกดูจากนามกิเลส-รูปกาม การแสวงหาวัตถุ-สภาวะ มีวัตถุมากน้อยพียงไร-อารมณ์ความรู้สึกเป็นอย่างไร
ทางวิญญาณ ไม่มีรูปกายหยาบอาศัย(ผัสสะ) มีเพียงนาม จึงดูจากสภาวะอารมณ์ความรู้สึกหรือความเชื่อความเห็น(เกิดกิเลส อกุศล หรือ ละกิเลส กุศล)
วิญญาณผู้มีกิเลสในสามภพ โลภสวรรค์ โกรธนรก หลงโลก ย่อมเวียนว่ายเกิดเสื่อมดับอยู่ในอารมณ์ความรู้สึก
หรือความเชื่อความเห็นในส่วนที่เป็นที่สุดทั้งสอง(นาม สภาวะกิเลส อาศัย(ผัสสะ) รูป วัตถุกาม)
จิตสุดท้ายก่อนตาย ก่อนที่วิญญาณจะแยกออกจากร่างกาย อารมณ์ความรู้สึกเป็นอย่างไร จิตวิญญาณก็มุ่งไปในภพ ที่แห่งนั้นๆ
พร้อมสืบต่ออารมณ์ความรู้สึก หรือความเชื่อความเห็น ที่เกิดบ่อยๆเป็นนิสัย สันดาน สัญชาตญาณ กิเลส เหมือนตอนที่อยู่ในภพโลก
ทำจิตใจให้บริสุทธิ์(จิตกุศล สังโยชน์6-10) เป็นเรื่องของฌาน1-4 รูปพรหม สืบต่อ 5-8 อรูปพรหม(ญาณ)
การเพ่งอารมณ์ ในอารมณ์เดียว จนเกิดปิติ สุข สงบ สืบต่อความหยั่งรู้ในนามธรรมทั้งหลาย(ญาณ)
คือความหลงติดใจในฌาน เพราะไม่ได้พูดทำเลี้ยงชีพทางโลก และทางพระธรรม
ชรา-มรณะ ความเสื่อ ดับ ออกจากฌาน หรือหมดญาณ กลับมาเกิดวิญญาณ สืบต่อทางโลก จิตอกุศล14 หรือทางพระธรรม จิตกุศล25
ทางพระธรรม ละวางไม่พัวพันในส่วนที่เป็นที่สุดสองอย่างทางโลก ที่ดีและไม่ดี บริสุทธิ์และไม่บริสุทธิ์ (นามกิเลส-รูปกาม)
จิตกุศล25 1-4.เห็นชอบ 1-6.คิดชอบ เพียรชอบ สติชอบ 1-19.สมาธิชอบ 1-22.พูดทำเลี้ยงชีพชอบ
1-24.จิตมหากุศล แผ่กุศลออกไปข้ามภพชาติให้กับวิญญาณผู้มีกิเลสในสามภพ 1-25.ปัญญาญาณ ละสังสารวัฏ
พร้อมในการสละ ละ วาง ความดีไม่ดี พอใจไม่พอใจ โลภโกรธ สุขทุกข์ บุญบาป สวรรค์นรก ในส่วนที่เป็นที่สุดสองอย่างทางโลก
พร้อมสืบต่อตั้งจิตประคองจิตให้เกิดความเป็นกลาง สงบ ซื่อตรงในความรู้ ไม่เกิดอารมณ์ความรู้สึกโลภโกรธ จึงไม่หลง
สงบจากความเชื่อความเห็น จะพูดทำเลี้ยงชีพอย่างไรย่อมชอบตามพระธรรม แม้เกิดชรา-มรณะ คือความเสื่อม แก่ เจ็บ จากเป็น หรือจากตาย รวมถึง การถูกเบียดเบียนทำร้ายทำลายจากธรรมชาติ หรือจากการนึกคิดพูดทำเลี้ยงชีพของคน
ก็ไม่กลับมาเวียนว่ายตายเกิดอยู่ในอารมณ์ความรู้สึก หรือในความเชื่อความเห็นในทางโลกอีก ปัญญาญาณละสังสารวัฏ