เราเป็นเพียงอุบาสก อุบาสิกา ที่พิจารณาอริยสัจ4 (ธรร3 ทาง3 จิต3 ภายใต้กฎ3)
อนุโลม ปฏิโลม ปฏิจจสมุปบาท12 อุปาทานขันธ์5 นิวรณ์5 สังโยชน์10
โดยยึดเอาคำแปล ของบทสวดธัมมจักกัปปวัตตนสูตร เเป็นหลักสำคัญ
ตามความรู้ ที่ไม่รู้ในภาษาบาลี สันสกฤตเลย ได้ความเห็นตามนี้ ซึ่งคิดว่าดีแล้ว
ฝากผู้รู้ ช่วยแก้ไขให้ถูกต้อง และให้ดียิ่งๆขึ้นไป
มรรค8 คือสภาวะจิต ความรู้ วิชชา ดวงตา ปัญญาญาณของพระพุทธเจ้า
ที่เกิดตามลำดับในจิต และรักษาสภาวะจิตนั้นได้ตลอดไป
แม้จะมีปัจจัย ที่ทำให้เกิด เจริญ หรือ ถูกทำให้เสื่อมแก่เจ็บดับ ถูกเบียดเบียนทำร้ายทำลาย
จากธรรมชาติ จากจิตตน และจิตผู้ที่มีพลังอำนาจ ที่ดี และไม่ดี
ยังรักษาจิต รักษาศีล คือ ตั้งจิต ประคองจิต วางจิต ให้กลับสู่สภาวะที่เป็นปกติ สงบได้ทุกครั้งไป
เรียกผู้ทรงศีล ผู้มีศีลสมบูรณ์ ผู้มีจิตตั้งมั่นในความสงบ(สุขก็ได้ ไม่สุขก็ได้ แต่ไม่มีโกรธบาป หรือหลงลังเลใจ ทุกข์ใจ)
พิจารณาทำในใจให้ดี ในความรู้ อริยสัจ4(ทาง3 ธรรม3 จิต3 ภายใต้กฎ3)
ตรึกตรอง เปรียบเทียบ ตามเห็นคิดเพียร ทำสติให้ชอบ ทำดวงตา วิชชา ญาณ
อุเบกขาญาณ กุศล สมาธิชอบ สืบต่อพูดทำเลี้ยงชีพชอบ ด้วยเมตตา มุทิตา
ให้เกิด(ง่ายเร็วบ่อยนาน) อุเบกขาญาณบารมี มหากุศล25 คือปัญญาญาณ
ให้เกิดสืบต่อๆเนื่องกันไปตามลำดับ ไม่ขาดตอน ตลอดไป
สิ่งที่มีอยู่ไม่มีอยู่ในตอนนี้ ที่ดีไม่ดี และสิ่งที่จะเกิด เจริญ ขึ้นมาใหม่ในภายหน้า ทีดีไม่ดี
ที่เป็นสภาวะ เจตนา อารมณ์ ความเชื่อความเห็นที่ดีไม่ดี ที่อาศัยไม่อาศัย ในรูป ร่างกายวัตถุกาม
จะเกิดเอง หรือเกิดจากการปรุงแต่ง(ละการปรุงแต่ง) แสวงหา(ไม่แสวงหา) สร้างทำให้เกิด ให้เจริญยิ่งๆขึ้นไป
ที่เป็นสภาวะสวรรค์ นรก โลก ล้วนเป็น วิญญาณผู้มีกิเลสตัณหา3ในภพ3 จิตอกุศล14 อุปาทานขันธ์5 นิวรณ์5
สังโยชน์5 ที่อาศัยและไม่อาศัย รูป สฬายตนะผัสสะ ร่างกายวัตถุกาม คือกิเลส-กาม จิต-ใจ วิญญาณฯ-วัตถุกาม
ย่อมต้องเป็นไปตามกฎไตรลักษณ์ ต้องเกิดชรา-มรณะ ย่อมต้องถูกทำให้เสื่อมแก่เจ็บดับ
รวมถึงการถูกเบียดเบียนทำร้ายทำลาย จากธรรมชาติ จากจิตตน และจิตผู้มีพลังอำนาจที่ดี และไม่ดี
(จิตจอมเทพจอมมาร ผู้เป็นใหญ่ในกามาวจร สวรรค์ชั้น6 ที่ได้ชื่อว่าจอมมาร เพราะเป็นผู้นำเทพมาร
มาขัดขวางพระพุทธเจ้าก่อนที่จะหลุดพ้นจากกามาวจร ก่อนที่จะบรรลุธรรม ธรรมที่ทำให้ดวงวิญญาณ
ผู้มีกิเลสตัณหา3ในภพ3 หลุดพ้นไปจากกามาวจร เพราะเป็นหน้าที่ๆต้องอวตารมาเอง หรือส่งเทพมารที่ดีไม่ดี
อวตารลงมาทดสอบ ล่อหลอก จิตทุกดวง เพราะไม่อยากให้ดวงจิตหลุดพ้นไปจากอำนาจของตน
หลุดพ้นจากกามาวจร หรือ เพื่อแยกดวงจิตให้ไปอาศัยในภพภูมิต่างๆ
โดยเฉพาะผู้ทรงศีล ผู้มีศีลสมบรูณ์ ผู้ที่รักษาศีลได้ดี ผู้ที่รักษาจิต ฝึกจิต ตั้งจิตประคองจิต จนตั้งมั่น
กลับสู่สภาวะที่เป็นปกติ สงบ ซื่อตรงเป็นกลางในความรู้ได้แล้ว (อุเบกขาญาณ กุศล)
และพยายามที่จะสืบต่อๆ ไม่ให้ขาดตอน ให้เกิดสืบต่อเนื่องกันได้ตลอดไป(อุเบกขาญาณบารมี มหากุศล25 ปัญญาญาณ)
เป็นเหตุให้จอมเทพจอมมาร ต้องอวตารลงมาทดสอบเอง ลงมาในรูปกายละเอียด(ตาใน ฌาน ญาณ) กายหยาบ(ตาเนื้อ)
ลงมาในรูปลักษณ์ที่รู้จัก ไม่รู้จัก เพื่อล่อหลอกให้ทำความดี ให้เกิดความยึดมั่นถือมั่นในความโลภรัก พอใจติดใจ ยินดี
ภูมิใจ สุขกายสบายใจบุญ เมื่อเกิดชรา-มรณะ ตามกฎไตรลักษณ์ จะได้สืบต่อสังสารวัฏ โกรธลำบากใจบาป หรือหลงลังเลใจ ทุกข์ใจ
ทำให้ไม่สามารถหลุดพ้นไปจากกามาวจร ไม่สามารถหลุดพ้นไปจากอำนาจของจอมเทพจอมมาร ผู้มีความดีและไม่ดีอยู่ในจิตเดียว)
พิจารณาทำในใจให้ดี ในความรู้ อริยสัจ4(ทาง3 ธรรม3 จิต3 ภายใต้กฎ3)
ตรึกตรอง เปรียบเทียบ ตามเห็นคิดเพียร ทำสติให้ชอบ ทำดวงตา วิชชา ญาณ
อุเบกขาญาณ กุศล สมาธิชอบ สืบต่อพูดทำเลี้ยงชีพชอบ ด้วยเมตตา มุทิตา
ให้เกิด(ง่ายเร็วบ่อยนาน) อุเบกขาญาณบารมี มหากุศล25 คือปัญญาญาณ
ให้เกิดสืบต่อๆเนื่องกันไปตามลำดับ ไม่ขาดตอน ตลอดไป
1.ทางโลก ภพ3 ความรู้ วิชา ปัญญา ปรุงแต่งตามสัญชาตญาณ เจตนา อารมณ์ ความเชื่อความเห็น
สืบต่อนิสัย สันดาน(ข้ามภพ ข้ามเจตนาอารมณ์ ข้ามความเชื่อความเห็น เรียกสัญชาตญาณ สัญญา คือ
1.อวิชชา 2.สังขาร 3.วิญญาณผู้มีกิเลสตัณหา3ในภพ3 โลภแล้วได้สวรรค์
ไม่ได้ตามกฎไตรลักษณ์ ชรา-มรณะ สืบต่อ โกรธบาปนรก หรือหลงลังเลทุกข์
4.นาม จิตอกุศล14 อุปาทานขันธ์5 นิวรณ์5 สังโยชน์5 ที่มี และไม่มี(อาศัย และไม่อาศัย)
4.รูป 5.สฬายตนะ6.ผัสสะ ร่างกายวัตถุกาม คือกิเลส-กาม จิต-ใจ วิญญาณฯ-วัตถุกาม
เกิดชรา-มรณะ ตามกฎไตรลักษณ์ สืบต่อสังสารวัฏ)
2.ทางโลก พรหมโลก ความรู้ จากการกำหนดรู้ หยั่งรู้ ในสมาธิฌาน รูปพรหม ญาณ อรูปพรหม สังโยชน์10
(เพ่งอารมณ์ในสมาธิฌาน วิตกวิจาร ปิติสุขสงบ รูปพรหม สืบต่อ
เพ่งความไม่มีอารมณ์ อากาศธาตุ วิญญาณธาตุ ความว่าง จำได้หมายรู้ และไม่รู้ กำหนดรู้ หยั่งรู้ อรูปพรหม
เกิดชรา-มรณะ ตามกฎไตรลักษณ์ สืบต่อสังสารวัฏ)
ทางโลก ทางสายกลาง ทางจิตอริยสัจ4 อริยบุคคล อริยสงฆ์ พระโพธสัตว์ ผู้เดินตามทางพระพุทธเจ้าอยู่
ให้ทาน ให้รับ ละวางความมีอยู่ไม่มีอยู่ ละส่วนที่สุดโต่งในทางทั้งสอง พูดทำเลี้ยงชีพชอบตามพระพุทธเจ้า
ปลงใจปักใจ ลงในกฎไตรลักษณ์ การเกิดชรา-มรณะ ถูกเบียดเบียนทำร้ายทำลาย จากธรรมชาติ จากจิตตน
และจิตอื่น สำนึกชอบ ให้อภัยเป็นทาน อโหสิกรรมด้วยความยินดี สืบต่อ
(1.ละความโลภพอใจติดใจ รัก แล้วได้สุขสบายใจบุญ เกิดง่ายเร็วบ่อยนาน บุญหนัก บุญบารมี
2.ละความโกรธไม่พอใจขัดใจ เกลียด และหลงลังเลไม่แน่ใจทุกข์ใจ เกิดง่ายเร็วบ่อยนาน บาปหนัก และทุกข์หนัก หมดบุญบารมี
พูดทำเลี้ยงชีพให้ชอบตามพระพุทธเจ้า รักษาศีล รักษาจิต ฝึกจิตตั้งจิตประคองจิตวางจิต ให้กลับสู่สภาวะที่เป็นปกติ
สงบ เป็นกลางซื่อตรงในความรู้ ให้เกิดสืบต่อๆกัน ตลอดไป
ออกกำลังร่างกายวัตถุกาม เพื่อความสุขกายสบายใจบุญ ในชาตินี้ เป็นเบื้องตน
พิจารณาทำในใจให้ดี แล้วเลือกรักษาศีล รักษาจิต ฝึกจิต ตั้งจิตวางจิตประคองจิต ให้เกิดในชาตินี้ เป็นท่ามกลาง
เพื่อให้เกิดสืบต่อๆเป็นนิสัย สันดาน(สัญชาตญาณ ต่อๆไปในชาตินี้ และชาติหน้า ถ้ามี ไม่มีก็ไม่เสียหายอะไร เป็นบั้นปลาย)
1.ตามความรู้ กำหนดรู้ หยั่งรู้
(วิชา ปัญญา ของตน คนอื่น 1.1.ตามสัญชาตญาณ ภพ3 สังโยชน์5 1.2.ตามฌาน ญาณ พรหมโลก สังโยชน์10)
2.ตามความรู้ (วิชชา ดวงตา ปัญญาญาณ ของพระพุทธเจ้า อุเบกขาญาณ เมตตา มุทิตา อุเบกขาญาณบารมี มหากุศล25)
อริยสัจ4
อนุโลม ปฏิโลม ปฏิจจสมุปบาท12 อุปาทานขันธ์5 นิวรณ์5 สังโยชน์10
โดยยึดเอาคำแปล ของบทสวดธัมมจักกัปปวัตตนสูตร เเป็นหลักสำคัญ
ตามความรู้ ที่ไม่รู้ในภาษาบาลี สันสกฤตเลย ได้ความเห็นตามนี้ ซึ่งคิดว่าดีแล้ว
ฝากผู้รู้ ช่วยแก้ไขให้ถูกต้อง และให้ดียิ่งๆขึ้นไป
มรรค8 คือสภาวะจิต ความรู้ วิชชา ดวงตา ปัญญาญาณของพระพุทธเจ้า
ที่เกิดตามลำดับในจิต และรักษาสภาวะจิตนั้นได้ตลอดไป
แม้จะมีปัจจัย ที่ทำให้เกิด เจริญ หรือ ถูกทำให้เสื่อมแก่เจ็บดับ ถูกเบียดเบียนทำร้ายทำลาย
จากธรรมชาติ จากจิตตน และจิตผู้ที่มีพลังอำนาจ ที่ดี และไม่ดี
ยังรักษาจิต รักษาศีล คือ ตั้งจิต ประคองจิต วางจิต ให้กลับสู่สภาวะที่เป็นปกติ สงบได้ทุกครั้งไป
เรียกผู้ทรงศีล ผู้มีศีลสมบูรณ์ ผู้มีจิตตั้งมั่นในความสงบ(สุขก็ได้ ไม่สุขก็ได้ แต่ไม่มีโกรธบาป หรือหลงลังเลใจ ทุกข์ใจ)
พิจารณาทำในใจให้ดี ในความรู้ อริยสัจ4(ทาง3 ธรรม3 จิต3 ภายใต้กฎ3)
ตรึกตรอง เปรียบเทียบ ตามเห็นคิดเพียร ทำสติให้ชอบ ทำดวงตา วิชชา ญาณ
อุเบกขาญาณ กุศล สมาธิชอบ สืบต่อพูดทำเลี้ยงชีพชอบ ด้วยเมตตา มุทิตา
ให้เกิด(ง่ายเร็วบ่อยนาน) อุเบกขาญาณบารมี มหากุศล25 คือปัญญาญาณ
ให้เกิดสืบต่อๆเนื่องกันไปตามลำดับ ไม่ขาดตอน ตลอดไป
สิ่งที่มีอยู่ไม่มีอยู่ในตอนนี้ ที่ดีไม่ดี และสิ่งที่จะเกิด เจริญ ขึ้นมาใหม่ในภายหน้า ทีดีไม่ดี
ที่เป็นสภาวะ เจตนา อารมณ์ ความเชื่อความเห็นที่ดีไม่ดี ที่อาศัยไม่อาศัย ในรูป ร่างกายวัตถุกาม
จะเกิดเอง หรือเกิดจากการปรุงแต่ง(ละการปรุงแต่ง) แสวงหา(ไม่แสวงหา) สร้างทำให้เกิด ให้เจริญยิ่งๆขึ้นไป
ที่เป็นสภาวะสวรรค์ นรก โลก ล้วนเป็น วิญญาณผู้มีกิเลสตัณหา3ในภพ3 จิตอกุศล14 อุปาทานขันธ์5 นิวรณ์5
สังโยชน์5 ที่อาศัยและไม่อาศัย รูป สฬายตนะผัสสะ ร่างกายวัตถุกาม คือกิเลส-กาม จิต-ใจ วิญญาณฯ-วัตถุกาม
ย่อมต้องเป็นไปตามกฎไตรลักษณ์ ต้องเกิดชรา-มรณะ ย่อมต้องถูกทำให้เสื่อมแก่เจ็บดับ
รวมถึงการถูกเบียดเบียนทำร้ายทำลาย จากธรรมชาติ จากจิตตน และจิตผู้มีพลังอำนาจที่ดี และไม่ดี
(จิตจอมเทพจอมมาร ผู้เป็นใหญ่ในกามาวจร สวรรค์ชั้น6 ที่ได้ชื่อว่าจอมมาร เพราะเป็นผู้นำเทพมาร
มาขัดขวางพระพุทธเจ้าก่อนที่จะหลุดพ้นจากกามาวจร ก่อนที่จะบรรลุธรรม ธรรมที่ทำให้ดวงวิญญาณ
ผู้มีกิเลสตัณหา3ในภพ3 หลุดพ้นไปจากกามาวจร เพราะเป็นหน้าที่ๆต้องอวตารมาเอง หรือส่งเทพมารที่ดีไม่ดี
อวตารลงมาทดสอบ ล่อหลอก จิตทุกดวง เพราะไม่อยากให้ดวงจิตหลุดพ้นไปจากอำนาจของตน
หลุดพ้นจากกามาวจร หรือ เพื่อแยกดวงจิตให้ไปอาศัยในภพภูมิต่างๆ
โดยเฉพาะผู้ทรงศีล ผู้มีศีลสมบรูณ์ ผู้ที่รักษาศีลได้ดี ผู้ที่รักษาจิต ฝึกจิต ตั้งจิตประคองจิต จนตั้งมั่น
กลับสู่สภาวะที่เป็นปกติ สงบ ซื่อตรงเป็นกลางในความรู้ได้แล้ว (อุเบกขาญาณ กุศล)
และพยายามที่จะสืบต่อๆ ไม่ให้ขาดตอน ให้เกิดสืบต่อเนื่องกันได้ตลอดไป(อุเบกขาญาณบารมี มหากุศล25 ปัญญาญาณ)
เป็นเหตุให้จอมเทพจอมมาร ต้องอวตารลงมาทดสอบเอง ลงมาในรูปกายละเอียด(ตาใน ฌาน ญาณ) กายหยาบ(ตาเนื้อ)
ลงมาในรูปลักษณ์ที่รู้จัก ไม่รู้จัก เพื่อล่อหลอกให้ทำความดี ให้เกิดความยึดมั่นถือมั่นในความโลภรัก พอใจติดใจ ยินดี
ภูมิใจ สุขกายสบายใจบุญ เมื่อเกิดชรา-มรณะ ตามกฎไตรลักษณ์ จะได้สืบต่อสังสารวัฏ โกรธลำบากใจบาป หรือหลงลังเลใจ ทุกข์ใจ
ทำให้ไม่สามารถหลุดพ้นไปจากกามาวจร ไม่สามารถหลุดพ้นไปจากอำนาจของจอมเทพจอมมาร ผู้มีความดีและไม่ดีอยู่ในจิตเดียว)
พิจารณาทำในใจให้ดี ในความรู้ อริยสัจ4(ทาง3 ธรรม3 จิต3 ภายใต้กฎ3)
ตรึกตรอง เปรียบเทียบ ตามเห็นคิดเพียร ทำสติให้ชอบ ทำดวงตา วิชชา ญาณ
อุเบกขาญาณ กุศล สมาธิชอบ สืบต่อพูดทำเลี้ยงชีพชอบ ด้วยเมตตา มุทิตา
ให้เกิด(ง่ายเร็วบ่อยนาน) อุเบกขาญาณบารมี มหากุศล25 คือปัญญาญาณ
ให้เกิดสืบต่อๆเนื่องกันไปตามลำดับ ไม่ขาดตอน ตลอดไป
1.ทางโลก ภพ3 ความรู้ วิชา ปัญญา ปรุงแต่งตามสัญชาตญาณ เจตนา อารมณ์ ความเชื่อความเห็น
สืบต่อนิสัย สันดาน(ข้ามภพ ข้ามเจตนาอารมณ์ ข้ามความเชื่อความเห็น เรียกสัญชาตญาณ สัญญา คือ
1.อวิชชา 2.สังขาร 3.วิญญาณผู้มีกิเลสตัณหา3ในภพ3 โลภแล้วได้สวรรค์
ไม่ได้ตามกฎไตรลักษณ์ ชรา-มรณะ สืบต่อ โกรธบาปนรก หรือหลงลังเลทุกข์
4.นาม จิตอกุศล14 อุปาทานขันธ์5 นิวรณ์5 สังโยชน์5 ที่มี และไม่มี(อาศัย และไม่อาศัย)
4.รูป 5.สฬายตนะ6.ผัสสะ ร่างกายวัตถุกาม คือกิเลส-กาม จิต-ใจ วิญญาณฯ-วัตถุกาม
เกิดชรา-มรณะ ตามกฎไตรลักษณ์ สืบต่อสังสารวัฏ)
2.ทางโลก พรหมโลก ความรู้ จากการกำหนดรู้ หยั่งรู้ ในสมาธิฌาน รูปพรหม ญาณ อรูปพรหม สังโยชน์10
(เพ่งอารมณ์ในสมาธิฌาน วิตกวิจาร ปิติสุขสงบ รูปพรหม สืบต่อ
เพ่งความไม่มีอารมณ์ อากาศธาตุ วิญญาณธาตุ ความว่าง จำได้หมายรู้ และไม่รู้ กำหนดรู้ หยั่งรู้ อรูปพรหม
เกิดชรา-มรณะ ตามกฎไตรลักษณ์ สืบต่อสังสารวัฏ)
ทางโลก ทางสายกลาง ทางจิตอริยสัจ4 อริยบุคคล อริยสงฆ์ พระโพธสัตว์ ผู้เดินตามทางพระพุทธเจ้าอยู่
ให้ทาน ให้รับ ละวางความมีอยู่ไม่มีอยู่ ละส่วนที่สุดโต่งในทางทั้งสอง พูดทำเลี้ยงชีพชอบตามพระพุทธเจ้า
ปลงใจปักใจ ลงในกฎไตรลักษณ์ การเกิดชรา-มรณะ ถูกเบียดเบียนทำร้ายทำลาย จากธรรมชาติ จากจิตตน
และจิตอื่น สำนึกชอบ ให้อภัยเป็นทาน อโหสิกรรมด้วยความยินดี สืบต่อ
(1.ละความโลภพอใจติดใจ รัก แล้วได้สุขสบายใจบุญ เกิดง่ายเร็วบ่อยนาน บุญหนัก บุญบารมี
2.ละความโกรธไม่พอใจขัดใจ เกลียด และหลงลังเลไม่แน่ใจทุกข์ใจ เกิดง่ายเร็วบ่อยนาน บาปหนัก และทุกข์หนัก หมดบุญบารมี
พูดทำเลี้ยงชีพให้ชอบตามพระพุทธเจ้า รักษาศีล รักษาจิต ฝึกจิตตั้งจิตประคองจิตวางจิต ให้กลับสู่สภาวะที่เป็นปกติ
สงบ เป็นกลางซื่อตรงในความรู้ ให้เกิดสืบต่อๆกัน ตลอดไป
ออกกำลังร่างกายวัตถุกาม เพื่อความสุขกายสบายใจบุญ ในชาตินี้ เป็นเบื้องตน
พิจารณาทำในใจให้ดี แล้วเลือกรักษาศีล รักษาจิต ฝึกจิต ตั้งจิตวางจิตประคองจิต ให้เกิดในชาตินี้ เป็นท่ามกลาง
เพื่อให้เกิดสืบต่อๆเป็นนิสัย สันดาน(สัญชาตญาณ ต่อๆไปในชาตินี้ และชาติหน้า ถ้ามี ไม่มีก็ไม่เสียหายอะไร เป็นบั้นปลาย)
1.ตามความรู้ กำหนดรู้ หยั่งรู้
(วิชา ปัญญา ของตน คนอื่น 1.1.ตามสัญชาตญาณ ภพ3 สังโยชน์5 1.2.ตามฌาน ญาณ พรหมโลก สังโยชน์10)
2.ตามความรู้ (วิชชา ดวงตา ปัญญาญาณ ของพระพุทธเจ้า อุเบกขาญาณ เมตตา มุทิตา อุเบกขาญาณบารมี มหากุศล25)