1. ผลิตภัณฑ์ ( Product )
น้ำพริกโปรตีนเกษตร ตรา บริสุทธิ์
วัตถุประสงค์ทางการตลาด
- สร้างยอดขายภายในสิ้นปี2560 เป็นจำนวน 15,000บาท
- ภายในเดือนแรก ขายให้ได้ทั้งหมด 50 กระปุก
กลยุทธ์ด้านผลิตภัณฑ์
- ซึ่งผลิตภัณฑ์ของเราจะขายสินค้าประเภทน้ำพริกโปรตีนเกษตร และมีจุดเด่นของสินค้าคือไม่ใส่วัตถุกันเสีย ไม่แต่งกลิ่น และ ไม่แต่งสี
- คุณสมบัติของผลิตภัณฑ์ของน้ำพริกโปรตีนเกษตร คือ ใช้โปรตีนเกษตรแท้100% ไม่ผสมเนื้อสัตว์แต่อย่างใด
ในส่วนของบรรจุภัณฑ์เป็นกระปุก Plastic Pet food grade ซีลด้วยฝาอลูมิเนียมด้านใน มีฝาปิด Plastic ด้านนอกเป็นบรรจุภัณฑ์สำหรับบรรจุอาหารโดยเฉพาะ กระปุกมีขนาดกะทัดรัดพกพาง่ายสะดวก และในส่วนของน้ำพริกนั้นเน้นโปรตีนเกษตรโดยสำคัญเป็นหลักถึง60% และมีส่วนประกอบอื่นๆ ทั้งนี้ใช้โมโนโซเดียมกลูต้าเมตเป็นวัตถุปรุงแต่งรสอาหารและที่สำคัญไม่แต่งกลิ่น ไม่เจอสี ไม่ใส่วัตถุกันเสียอีกด้วย ผู้บริโภคทั้งเด็กและผู้ใหญ่สามารถรับประทานน้ำพริกโปรตีนเกษตรได้โดยไม่อันตราย
วัตถุดิบ
1. โปรตีนเกษตร 60%
2. พริกแห้ง 20%
3. ตะไคร้10%
4. ใบมะกรูด10%
5. น้ำตาล3%
6. เกลือ1%
สายผลิตภัณฑ์ ( Product Line )
ซึ่งผลิตภัณฑ์จะมีอยู่ line ผลิตภัณฑ์เดียวนั่นก็คือ ผลิตภัณฑ์โปรตีนเกษตร ซึ่งก็มีอยู่เพียง 1 ITEM คือ น้ำพริกโปรตีนเกษตร ขนาด 80 กรัม
กลุ่มลูกค้าเป้าหมายของผลิตภัณฑ์
• กลุ่มเป้าหมายหลัก คือ กลุ่มนักเรียน/นักศึกษาที่อยู่ย่านมหาวิทยาลัยหอการค้าไทยและกลุ่มคนวัยทำงานที่อายุตั้งแต่อายุ 24ขึ้นไป
• กลุ่มเป้าหมายรอง คือ ตลาดกลุ่มแม่บ้านทั่วไป
ตำแหน่งทางการตลาด ( Positioning )
วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ ( Product Life Cycle )
วงจรชีวิตอยู่ในช่วงแนะนำ ( Introduction )
ซึ่งเป็นช่วงที่ทางร้านได้จัดตั้งขึ้นมาและสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ออกสู่ตลาดทำให้ทางร้านต้องมีการสร้างความรู้จักให้แก่ผู้บริโภค ซึ่งได้มีสร้างความรู้จักผ่านทางโซเซียลมีเดียต่างๆเช่น Facebook line และมีการไปเจรจาส่วนแบ่งที่ให้กับทางร้านค้าปลีกเพื่อทีจะขอวางขายผลิตภัณฑ์น้ำพริกของเรา
วงจรชีวิตช่วงเติบโต ( Growth )
ช่วงเติบโตจะเป็นช่วงที่ธุรกิจสามารถสร้างการรู้จักกับผู้บริโภคได้อย่างทั่วถึงแล้ว ควรที่ จะมีการขยายสายการผลิตใหม่ๆออกมาเพื่อตอบสนองให้ผู้บริโภคมากยิ่งขึ้น จะต้องไม่ หยุดนิ่งอยู่กับที่ต้องมีแนวโน้มของธุรกิจไปข้างหน้า หรือไม่อาจขยายฐานลูกค้าจากเดิมที่เจาะจงวัยนักศึกษากับวัยทำงาน ขยายให้ทั่วถึงมากยิ่งขึ้น
วงจรชีวิตช่วงอิ่มตัว ( Maturity )
ช่วงอิ่มตัวเป็นช่วงที่เริ่มอิ่มตัวกับการทำกำไรที่ธุรกิจเราทำได้ สิ่งสำคัญทีจะต้องทำให้ได้ก็คือ ต้องรักษาฐานลูกค้าให้เป็นอย่างดี เพื่อรักษาระดับรายได้ของธุรกิจเอง
วงจรชีวิตช่วงถดถอย ( Decline )
ธุรกิจมีแนวโน้มที่จะขาดทุนในระยะนี้เพราะว่าธุรกิจอาจจะไม่มีผลิตภัณฑ์ใหม่ๆออกมา มีแต่แบบเดิมๆ ขายให้กับลูกค้ากลุ่มเดิมๆ ทำให้ธุรกิจของเราถดถอยในที่สุด ดังนั้นทางเลือกที่ธุรกิจที่สามารถเลือกได้คือ 1. ขยายผลิตภัณฑ์เราออกสู่ตลาดและกลุ่มผู้บริโภคใหม่ 2. ยกเลิกหรือปิดกิจการในที่สุด
2. ราคา ( Price )
กระปุก 80 กรัม ขายในราคา 59 บาทต่อกระปุก ทุกกรณี
กรณีที่ 1
1. ขายในย่านมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
1. ต้นทุนคงที่ ( FC )
- ค่าเช่าที่ = ค่าเช่าที่วันละ 350 บาท ขายเป็นเวลา1เดือน เป็นจำนวน 20 วัน ขายจันทร์ – ศุกร์ เป็นจำนวนเงินเท่ากับ 350x20 = 7,000 บาท
- ค่าวัตถุดิบ = ค่าวัตถุดิบ 1 กิโลกรัม เป็นจำนวนเงิน 5,000 บาท
- ค่าแรงงาน = วันละ 300 บาท ขายเป็นเวลา1เดือน เป็นจำนวน 20วัน ขาย
จันทร์ – ศุกร์ เป็นจำนวนเงินเท่ากับ 300x20 = 6,000 บาท
2. ต้นทุนแปรผัน ( VC )
- ค่าแปะสติกเกอร์ข้างกระปุก = เป็นจำนวนเงิน 500 บาท
มีจำนวนหน่วยทั้งหมด 100กระปุก
ต้นทุนรวม ( TC ) = 7,000+5,000+500+6,000
100
= 18,500
100
= 185 บาทต่อกระปุก
2. ฝากขายที่ร้านค้าปลีก
มีการเสียค่า Commission เป็นจำนวน 10 %
มีการฝากขายเป็นจำนวน 20กระปุก ราคาขายกระปุกละ 59 บาท
ดังนั้น ค่า Commission เท่ากัน 59x10% = 5.9 หรือ 6 บาทต่อกระปุก
ค่าใช้จ่าย
ถ้าร้านขายได้ทั้งหมด20กระปุก จะเสียค่า Commission ให้ร้านเท่ากับ
20x6 = 120 บาท
รายได้
ถ้าร้านขายได้ทั้งหมด 20กระปุก เสียค่า Commission กระปุกละ6บาท ราคาต่อกระปุก จะเหลือ 53บาท จะเท่ากับ 20x53 = 1,060 บาท
3. ทางออนไลน์
มีการ Stock สินค้าไว้ในช่องทางนี้ ประมาณ 40 กระปุก ราคาขายกระปุกละ 59 บาท
จะมีช่องทางในการขาย ได้แก่ Facebook Instagram และ Line@ ซึ่ง3ช่องทางนี้สามารถดูสินค้าและสามารถสั่งซื้อได้ทั้ง3ช่องทาง
กรณีที่ 2
1. ขายย่านมหาวิทยาลัยหอการค้าไทยเฉพาะวันจันทร์
1. ต้นทุนคงที่ ( FC )
- ค่าเช่าที่ = ค่าเช่าที่วันละ 350 บาท ขาย1เดือน เป็นจำนวน 4 จันทร์
จะเท่ากับ 350x4 = 1,400 บาท
- ค่าวัตถุดิบ = ค่าวัตถุดิบ 1 กิโลกรัม เป็นจำนวนเงิน 5,000 บาท
- ค่าแรงงาน = วันละ 300 บาท ขาย1เดือน เป็นจำนวน 4 จันทร์
จะเท่ากับ 300x4 = 1,200 บาท
2. ต้นทุนแปรผัน ( VC )
- ค่าแปะสติกเกอร์ข้างกระปุก = เป็นจำนวนเงิน 500 บาท
มีจำนวนหน่วยทั้งหมด 100กระปุก
ต้นทุนรวม ( TC ) = 1,400+5,000+500+1,200
100
= 8,100
100
= 81 บาทต่อกระปุก
2. ฝากขายที่ร้านค้าปลีก
มีการเสียค่า Commission เป็นจำนวน 10 %
มีการฝากขายเป็นจำนวน 20กระปุก ราคาขายกระปุกละ 59 บาท
ดังนั้น ค่า Commission เท่ากัน 59x10% = 5.9 หรือ 6 บาทต่อกระปุก
ค่าใช้จ่าย
ถ้าร้านขายได้ทั้งหมด20กระปุก จะเสียค่า Commission ให้ร้านเท่ากับ
20x6 = 120 บาท
รายได้
ถ้าร้านขายได้ทั้งหมด 20กระปุก เสียค่า Commission กระปุกละ6บาท ราคาต่อกระปุก จะเหลือ 53บาท จะเท่ากับ 20x53 = 1,060 บาท
3. ทางออนไลน์
มีการ Stock สินค้าไว้ในช่องทางนี้ ประมาณ 40 กระปุก ราคาขายกระปุกละ 59 บาท
จะมีช่องทางในการขาย ได้แก่ Facebook Instagram และ Line@ ซึ่ง3ช่องทางนี้สามารถดูสินค้าและสามารถสั่งซื้อได้ทั้ง3ช่องทาง
กรณีที่ 3
1. ฝากขายที่ร้านค้าปลีก
มีการเสียค่า Commission เป็นจำนวน 10 %
มีการฝากขายเป็นจำนวน 20กระปุก ราคาขายกระปุกละ 59 บาท
ดังนั้น ค่า Commission เท่ากัน 59x10% = 5.9 หรือ 6 บาทต่อกระปุก
ค่าใช้จ่าย
ถ้าร้านขายได้ทั้งหมด20กระปุก จะเสียค่า Commission ให้ร้านเท่ากับ
20x6 = 120 บาท
รายได้
ถ้าร้านขายได้ทั้งหมด 20กระปุก เสียค่า Commission กระปุกละ6บาท ราคาต่อกระปุก จะเหลือ 53บาท จะเท่ากับ 20x53 = 1,060 บาท
2. ทางออนไลน์
มีการ Stock สินค้าไว้ในช่องทางนี้ ประมาณ 40 กระปุก ราคาขายกระปุกละ 59 บาท
จะมีช่องทางในการขาย ได้แก่ Facebook Instagram และ Line@ ซึ่ง3ช่องทางนี้สามารถดูสินค้าและสามารถสั่งซื้อได้ทั้ง3ช่องทาง
ทั้งนี้เพื่อให้สอดคล้องกับหลักจิตวิทยาเราจึงตั้งราคาสินค้าอยู่ที่ชิ้นละ 59 บาท
เปรียบเทียบกับผลิตภัณฑ์น้ำพริกแบรนด์อื่นๆในปริมาณเท่ากันจากการสำรวจพบว่ามีตั้งแต่ราคา 70 บาท ถึงมากกว่า 100 บาท จึงคาดว่าราคาสินค้าของเราอยู่ในช่วงที่ผู้บริโภคสามารถยอมรับได้ และเนื่องจากผลิตภัณฑ์ของเราจะมีการขายเพียงในไตรมาสที่ 4 จะอยู่ในช่วงเดือน ตุลาคม-ธันวาคม อีกทั้งปัจจุบันยังมีผู้ขายสินค้าแบบเดียวกันไม่มาก ทำให้สินค้าของเรามีความแตกต่างสามารถตั้งราคาที่สูงกว่าตลาดรอบข้างได้
วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ ( Product Life Cycle )
วงจรชีวิตอยู่ในช่วงแนะนำ ( Introduction )
ปัจจุบันผลิตภัณฑ์ของเราจะอยู่ในช่วงแนะนำเนื่องจากเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ที่เพิ่งเริ่มผลิต ขึ้นมา ในส่วนของราคาจะเป็นไปตามที่ได้กล่าวมาข้างต้น
วงจรชีวิตช่วงเติบโต ( Growth )
เป็นช่วงที่จะมียอดขายเพิ่มมากขึ้นมากที่สุด จะไม่มีการเปลี่ยนแปลงในส่วนของราคาสินค้า
วงจรชีวิตช่วงอิ่มตัว ( Maturity )
ในช่วงอิ่มตัวยอดขายจะเริ่มนิ่งกำไรอาจลดลง ในส่วนของราคาอาจมีการเพิ่มหรือลดลงทั้งนี้จะขึ้นอยู่กับสถานการณ์
วงจรชีวิตช่วงถดถอย ( Decline )
เป็นช่วงที่ยอดขายตกลงมากที่สุด อาจต้องยอมลดราคาสินค้าลงเพื่อระบายสินค้าที่เหลือค้างในสต๊อกออกไปให้มากที่สุด
3. สถานที่จัดจำหน่าย ( Place )
โรงงานผลิตตั้งอยู่ที่จังหวัดแพร่เมื่อผลิตเสร็จจะถูกส่งมาที่จุดรับสินค้าซึ่งอยู่บริเวณถนนเพชรเกษม
ผลิตภัณฑ์ของเราจะขายเฉพาะในช่วงไตรมาสที่ 4 ของปีเท่านั้น หรือก็คืออยู่ในช่วงเดือน ตุลาคม-ธันวาคม เพียง 3 เดือนนี้เท่านั้น และจากการที่ได้พิจารณาทางเลือกต่างๆเราได้เลือกการกระจายสินค้าทั้งหมด 2 ช่องทาง
ช่องทางที่ 1 คือขายที่บริเวณมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย เป็นรูปแบบช่องทางตรง
ผู้ผลิต ผู้บริโภค
ช่องทางนี้เราจะเป็นผู้จำหน่ายเองโดยตรง ด้วยความที่เดิมเป็นนักศึกษามหาวิทยาลัยหอการค้าอยู่แล้วจึงทำให้เรามีความคุ้นชินกับพื้นที่ อีกทั้งยังมีผู้คนสัญจรผ่านไปมามาก ทำให้สามารถดำเนินงานด้านต่างๆได้โดยไม่ติดขัด
โดยลักษณะของผู้บริโภคส่วนใหญ่จะอยู่ในช่วง วัยรุ่น-วัยทำงาน หรือก็คือ นักศึกษากับคณะอาจารย์ และผู้ทำงานอยู่ในบริเวณใกล้เคียง
จำนวนพนักงานขายสินค้า 1 คนและมีระยะเวลาการขาย 1 เดือน
การขนส่งสินค้า
ใช้วิธีไปรับจากจุดรับสินค้าอยู่บริเวณประชาสงค์เคราะห์26
ข้อดี-ข้อเสียในการขายสินค้าใน ช่องทางที่ 1
ข้อดี
1.ควบคุมได้ง่ายเนื่องจากเป็นรูปแบบช่องทางตรง
2.มีผู้คนสัญจรผ่านไปมามาก
3.มีกลุ่มลูกค้าที่หลากหลาย
4.มีความสะดวกในการขนส่ง
ข้อเสีย
1.ค่าใช้จ่ายในการเช่าสถานที่สูง
2.อยู่ไกลจุดรับสินค้ามากกว่าช่องทางที่ 2
ช่องทางที่ 2 คือนำไปขายที่โรงอาหารของกรมสรรพกร ซึ่งตั้งอยู่ที่ ซอยพหลโยธิน 7สามารถที่จะเดินทางด้วย BTS ลงสถานีอารีย์และต่อรถเพื่อเข้ากรมสรรพกร ซึ่งช่องทางนี้เป็นการผ่านคนกลาง เป็นรูปแบบช่องทาง 1 ระดับ
ผู้ผลิต ผู้ค้าปลีก ผู้บริโภค
ช่องทางนี้ทางเราจะไม่ได้เป็นผู้จำหน่ายด้วยตนเองแต่ใช้การฝากคนกลางไปจำหน่าย ซึ่งเป็นผู้ที่มีความชำนาญเคยทำการค้าขายในพื้นที่นั้นอยู่แล้วการค้าขายจึงเป็นไปโดยง่าย
จำนวนคนกลาง 1 คน และมีระยะเวลาการขาย 1 เดือน
การขนส่งสินค้า
ในทุกๆสัปดาห์ทางเราจะนำสินค้าไปส่งด้วยตนเอง
โดยลักษณะของผู้บริโภคส่วนใหญ่จะอยู่ในวัยทำงานและเป็นผู้ที่ทำงานกับกรมสรรพกร
ข้อดี-ข้อเสียในการขายสินค้าใน ช่องทางที่ 2
ข้อดี
1.ค่าใช้จ่ายต่ำกว่าช่องทางที่ 1
2.พนักงานขายมีความชำนาญ
3.พนักงานกรมสรรพกรส่วนใหญ่อยู่ในวัยที่ชื่นชอบในการทานน้ำพริก
4.อยู่ใกล้จุดรับสินค้า
ข้อเสีย
1.เนื่องจากไม่ได้เป็นผู้ควบคุมดำเนินการด้วยตนเองอาจทำให้เกิดปัญหาได้
2.กลุ่มลูกค้ามีความหลากหลายน้อยกว่าช่องทางที่ 1
ช่องทางที่3 คือ online
ผู้ผลิต ผู้บริโภค
ช่องทางนี้เราจะเป็นผู้จำหน่ายเองโดยตรงให้ผู้บริโภค โดยผ่านทางออนไลน์ เช่น Instagram Facebook line@ เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ผู้บริโภคที่ไม่สามารถมาซื้อสินค้าที่หน้าร้านได้
โดยลักษณะของผู้บริโภคส่วนใหญ่จะเป็นผู้ที่เล่นSocialประจำ และเกิดความสนใจใน สินค้า จึงสั่งผ่านทางOnline
ข้อดี
1.ต้นทุนต่ำ
2.เข้าถึงช่องทางผู้บริโภคได้มากกว่าช่องทางที่1และ2
ข้อเสีย
1.ผู้บริโภคไม่เห็นสินค้าจริง
2.ความไว้ใจของผู้บริโภคต่ำ ว่าทางร้านจะจัดส่งให้ถึงมือผู้บริโภคจริงหรือไม
4. การส่งเสริมการตลาด ( Promotion )
กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย
- กลุ่มนักเรียนและนักศึกษาในย่านมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
- กลุ่มวัยทำงาน และกลุ่มแม่บ้านในย่านมหาวิทยาลัยหอการค้
รบกวนผุ้รู้ช่วยคอมเมนท์ให้หน่อยนะครับเนื่องจากเป็นคะแนนที่ต้องส่งอาจารย์และต้องทำการลงมือขายจริงครับ
น้ำพริกโปรตีนเกษตร ตรา บริสุทธิ์
วัตถุประสงค์ทางการตลาด
- สร้างยอดขายภายในสิ้นปี2560 เป็นจำนวน 15,000บาท
- ภายในเดือนแรก ขายให้ได้ทั้งหมด 50 กระปุก
กลยุทธ์ด้านผลิตภัณฑ์
- ซึ่งผลิตภัณฑ์ของเราจะขายสินค้าประเภทน้ำพริกโปรตีนเกษตร และมีจุดเด่นของสินค้าคือไม่ใส่วัตถุกันเสีย ไม่แต่งกลิ่น และ ไม่แต่งสี
- คุณสมบัติของผลิตภัณฑ์ของน้ำพริกโปรตีนเกษตร คือ ใช้โปรตีนเกษตรแท้100% ไม่ผสมเนื้อสัตว์แต่อย่างใด
ในส่วนของบรรจุภัณฑ์เป็นกระปุก Plastic Pet food grade ซีลด้วยฝาอลูมิเนียมด้านใน มีฝาปิด Plastic ด้านนอกเป็นบรรจุภัณฑ์สำหรับบรรจุอาหารโดยเฉพาะ กระปุกมีขนาดกะทัดรัดพกพาง่ายสะดวก และในส่วนของน้ำพริกนั้นเน้นโปรตีนเกษตรโดยสำคัญเป็นหลักถึง60% และมีส่วนประกอบอื่นๆ ทั้งนี้ใช้โมโนโซเดียมกลูต้าเมตเป็นวัตถุปรุงแต่งรสอาหารและที่สำคัญไม่แต่งกลิ่น ไม่เจอสี ไม่ใส่วัตถุกันเสียอีกด้วย ผู้บริโภคทั้งเด็กและผู้ใหญ่สามารถรับประทานน้ำพริกโปรตีนเกษตรได้โดยไม่อันตราย
วัตถุดิบ
1. โปรตีนเกษตร 60%
2. พริกแห้ง 20%
3. ตะไคร้10%
4. ใบมะกรูด10%
5. น้ำตาล3%
6. เกลือ1%
สายผลิตภัณฑ์ ( Product Line )
ซึ่งผลิตภัณฑ์จะมีอยู่ line ผลิตภัณฑ์เดียวนั่นก็คือ ผลิตภัณฑ์โปรตีนเกษตร ซึ่งก็มีอยู่เพียง 1 ITEM คือ น้ำพริกโปรตีนเกษตร ขนาด 80 กรัม
กลุ่มลูกค้าเป้าหมายของผลิตภัณฑ์
• กลุ่มเป้าหมายหลัก คือ กลุ่มนักเรียน/นักศึกษาที่อยู่ย่านมหาวิทยาลัยหอการค้าไทยและกลุ่มคนวัยทำงานที่อายุตั้งแต่อายุ 24ขึ้นไป
• กลุ่มเป้าหมายรอง คือ ตลาดกลุ่มแม่บ้านทั่วไป
ตำแหน่งทางการตลาด ( Positioning )
วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ ( Product Life Cycle )
วงจรชีวิตอยู่ในช่วงแนะนำ ( Introduction )
ซึ่งเป็นช่วงที่ทางร้านได้จัดตั้งขึ้นมาและสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ออกสู่ตลาดทำให้ทางร้านต้องมีการสร้างความรู้จักให้แก่ผู้บริโภค ซึ่งได้มีสร้างความรู้จักผ่านทางโซเซียลมีเดียต่างๆเช่น Facebook line และมีการไปเจรจาส่วนแบ่งที่ให้กับทางร้านค้าปลีกเพื่อทีจะขอวางขายผลิตภัณฑ์น้ำพริกของเรา
วงจรชีวิตช่วงเติบโต ( Growth )
ช่วงเติบโตจะเป็นช่วงที่ธุรกิจสามารถสร้างการรู้จักกับผู้บริโภคได้อย่างทั่วถึงแล้ว ควรที่ จะมีการขยายสายการผลิตใหม่ๆออกมาเพื่อตอบสนองให้ผู้บริโภคมากยิ่งขึ้น จะต้องไม่ หยุดนิ่งอยู่กับที่ต้องมีแนวโน้มของธุรกิจไปข้างหน้า หรือไม่อาจขยายฐานลูกค้าจากเดิมที่เจาะจงวัยนักศึกษากับวัยทำงาน ขยายให้ทั่วถึงมากยิ่งขึ้น
วงจรชีวิตช่วงอิ่มตัว ( Maturity )
ช่วงอิ่มตัวเป็นช่วงที่เริ่มอิ่มตัวกับการทำกำไรที่ธุรกิจเราทำได้ สิ่งสำคัญทีจะต้องทำให้ได้ก็คือ ต้องรักษาฐานลูกค้าให้เป็นอย่างดี เพื่อรักษาระดับรายได้ของธุรกิจเอง
วงจรชีวิตช่วงถดถอย ( Decline )
ธุรกิจมีแนวโน้มที่จะขาดทุนในระยะนี้เพราะว่าธุรกิจอาจจะไม่มีผลิตภัณฑ์ใหม่ๆออกมา มีแต่แบบเดิมๆ ขายให้กับลูกค้ากลุ่มเดิมๆ ทำให้ธุรกิจของเราถดถอยในที่สุด ดังนั้นทางเลือกที่ธุรกิจที่สามารถเลือกได้คือ 1. ขยายผลิตภัณฑ์เราออกสู่ตลาดและกลุ่มผู้บริโภคใหม่ 2. ยกเลิกหรือปิดกิจการในที่สุด
2. ราคา ( Price )
กระปุก 80 กรัม ขายในราคา 59 บาทต่อกระปุก ทุกกรณี
กรณีที่ 1
1. ขายในย่านมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
1. ต้นทุนคงที่ ( FC )
- ค่าเช่าที่ = ค่าเช่าที่วันละ 350 บาท ขายเป็นเวลา1เดือน เป็นจำนวน 20 วัน ขายจันทร์ – ศุกร์ เป็นจำนวนเงินเท่ากับ 350x20 = 7,000 บาท
- ค่าวัตถุดิบ = ค่าวัตถุดิบ 1 กิโลกรัม เป็นจำนวนเงิน 5,000 บาท
- ค่าแรงงาน = วันละ 300 บาท ขายเป็นเวลา1เดือน เป็นจำนวน 20วัน ขาย
จันทร์ – ศุกร์ เป็นจำนวนเงินเท่ากับ 300x20 = 6,000 บาท
2. ต้นทุนแปรผัน ( VC )
- ค่าแปะสติกเกอร์ข้างกระปุก = เป็นจำนวนเงิน 500 บาท
มีจำนวนหน่วยทั้งหมด 100กระปุก
ต้นทุนรวม ( TC ) = 7,000+5,000+500+6,000
100
= 18,500
100
= 185 บาทต่อกระปุก
2. ฝากขายที่ร้านค้าปลีก
มีการเสียค่า Commission เป็นจำนวน 10 %
มีการฝากขายเป็นจำนวน 20กระปุก ราคาขายกระปุกละ 59 บาท
ดังนั้น ค่า Commission เท่ากัน 59x10% = 5.9 หรือ 6 บาทต่อกระปุก
ค่าใช้จ่าย
ถ้าร้านขายได้ทั้งหมด20กระปุก จะเสียค่า Commission ให้ร้านเท่ากับ
20x6 = 120 บาท
รายได้
ถ้าร้านขายได้ทั้งหมด 20กระปุก เสียค่า Commission กระปุกละ6บาท ราคาต่อกระปุก จะเหลือ 53บาท จะเท่ากับ 20x53 = 1,060 บาท
3. ทางออนไลน์
มีการ Stock สินค้าไว้ในช่องทางนี้ ประมาณ 40 กระปุก ราคาขายกระปุกละ 59 บาท
จะมีช่องทางในการขาย ได้แก่ Facebook Instagram และ Line@ ซึ่ง3ช่องทางนี้สามารถดูสินค้าและสามารถสั่งซื้อได้ทั้ง3ช่องทาง
กรณีที่ 2
1. ขายย่านมหาวิทยาลัยหอการค้าไทยเฉพาะวันจันทร์
1. ต้นทุนคงที่ ( FC )
- ค่าเช่าที่ = ค่าเช่าที่วันละ 350 บาท ขาย1เดือน เป็นจำนวน 4 จันทร์
จะเท่ากับ 350x4 = 1,400 บาท
- ค่าวัตถุดิบ = ค่าวัตถุดิบ 1 กิโลกรัม เป็นจำนวนเงิน 5,000 บาท
- ค่าแรงงาน = วันละ 300 บาท ขาย1เดือน เป็นจำนวน 4 จันทร์
จะเท่ากับ 300x4 = 1,200 บาท
2. ต้นทุนแปรผัน ( VC )
- ค่าแปะสติกเกอร์ข้างกระปุก = เป็นจำนวนเงิน 500 บาท
มีจำนวนหน่วยทั้งหมด 100กระปุก
ต้นทุนรวม ( TC ) = 1,400+5,000+500+1,200
100
= 8,100
100
= 81 บาทต่อกระปุก
2. ฝากขายที่ร้านค้าปลีก
มีการเสียค่า Commission เป็นจำนวน 10 %
มีการฝากขายเป็นจำนวน 20กระปุก ราคาขายกระปุกละ 59 บาท
ดังนั้น ค่า Commission เท่ากัน 59x10% = 5.9 หรือ 6 บาทต่อกระปุก
ค่าใช้จ่าย
ถ้าร้านขายได้ทั้งหมด20กระปุก จะเสียค่า Commission ให้ร้านเท่ากับ
20x6 = 120 บาท
รายได้
ถ้าร้านขายได้ทั้งหมด 20กระปุก เสียค่า Commission กระปุกละ6บาท ราคาต่อกระปุก จะเหลือ 53บาท จะเท่ากับ 20x53 = 1,060 บาท
3. ทางออนไลน์
มีการ Stock สินค้าไว้ในช่องทางนี้ ประมาณ 40 กระปุก ราคาขายกระปุกละ 59 บาท
จะมีช่องทางในการขาย ได้แก่ Facebook Instagram และ Line@ ซึ่ง3ช่องทางนี้สามารถดูสินค้าและสามารถสั่งซื้อได้ทั้ง3ช่องทาง
กรณีที่ 3
1. ฝากขายที่ร้านค้าปลีก
มีการเสียค่า Commission เป็นจำนวน 10 %
มีการฝากขายเป็นจำนวน 20กระปุก ราคาขายกระปุกละ 59 บาท
ดังนั้น ค่า Commission เท่ากัน 59x10% = 5.9 หรือ 6 บาทต่อกระปุก
ค่าใช้จ่าย
ถ้าร้านขายได้ทั้งหมด20กระปุก จะเสียค่า Commission ให้ร้านเท่ากับ
20x6 = 120 บาท
รายได้
ถ้าร้านขายได้ทั้งหมด 20กระปุก เสียค่า Commission กระปุกละ6บาท ราคาต่อกระปุก จะเหลือ 53บาท จะเท่ากับ 20x53 = 1,060 บาท
2. ทางออนไลน์
มีการ Stock สินค้าไว้ในช่องทางนี้ ประมาณ 40 กระปุก ราคาขายกระปุกละ 59 บาท
จะมีช่องทางในการขาย ได้แก่ Facebook Instagram และ Line@ ซึ่ง3ช่องทางนี้สามารถดูสินค้าและสามารถสั่งซื้อได้ทั้ง3ช่องทาง
ทั้งนี้เพื่อให้สอดคล้องกับหลักจิตวิทยาเราจึงตั้งราคาสินค้าอยู่ที่ชิ้นละ 59 บาท
เปรียบเทียบกับผลิตภัณฑ์น้ำพริกแบรนด์อื่นๆในปริมาณเท่ากันจากการสำรวจพบว่ามีตั้งแต่ราคา 70 บาท ถึงมากกว่า 100 บาท จึงคาดว่าราคาสินค้าของเราอยู่ในช่วงที่ผู้บริโภคสามารถยอมรับได้ และเนื่องจากผลิตภัณฑ์ของเราจะมีการขายเพียงในไตรมาสที่ 4 จะอยู่ในช่วงเดือน ตุลาคม-ธันวาคม อีกทั้งปัจจุบันยังมีผู้ขายสินค้าแบบเดียวกันไม่มาก ทำให้สินค้าของเรามีความแตกต่างสามารถตั้งราคาที่สูงกว่าตลาดรอบข้างได้
วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ ( Product Life Cycle )
วงจรชีวิตอยู่ในช่วงแนะนำ ( Introduction )
ปัจจุบันผลิตภัณฑ์ของเราจะอยู่ในช่วงแนะนำเนื่องจากเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ที่เพิ่งเริ่มผลิต ขึ้นมา ในส่วนของราคาจะเป็นไปตามที่ได้กล่าวมาข้างต้น
วงจรชีวิตช่วงเติบโต ( Growth )
เป็นช่วงที่จะมียอดขายเพิ่มมากขึ้นมากที่สุด จะไม่มีการเปลี่ยนแปลงในส่วนของราคาสินค้า
วงจรชีวิตช่วงอิ่มตัว ( Maturity )
ในช่วงอิ่มตัวยอดขายจะเริ่มนิ่งกำไรอาจลดลง ในส่วนของราคาอาจมีการเพิ่มหรือลดลงทั้งนี้จะขึ้นอยู่กับสถานการณ์
วงจรชีวิตช่วงถดถอย ( Decline )
เป็นช่วงที่ยอดขายตกลงมากที่สุด อาจต้องยอมลดราคาสินค้าลงเพื่อระบายสินค้าที่เหลือค้างในสต๊อกออกไปให้มากที่สุด
3. สถานที่จัดจำหน่าย ( Place )
โรงงานผลิตตั้งอยู่ที่จังหวัดแพร่เมื่อผลิตเสร็จจะถูกส่งมาที่จุดรับสินค้าซึ่งอยู่บริเวณถนนเพชรเกษม
ผลิตภัณฑ์ของเราจะขายเฉพาะในช่วงไตรมาสที่ 4 ของปีเท่านั้น หรือก็คืออยู่ในช่วงเดือน ตุลาคม-ธันวาคม เพียง 3 เดือนนี้เท่านั้น และจากการที่ได้พิจารณาทางเลือกต่างๆเราได้เลือกการกระจายสินค้าทั้งหมด 2 ช่องทาง
ช่องทางที่ 1 คือขายที่บริเวณมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย เป็นรูปแบบช่องทางตรง
ผู้ผลิต ผู้บริโภค
ช่องทางนี้เราจะเป็นผู้จำหน่ายเองโดยตรง ด้วยความที่เดิมเป็นนักศึกษามหาวิทยาลัยหอการค้าอยู่แล้วจึงทำให้เรามีความคุ้นชินกับพื้นที่ อีกทั้งยังมีผู้คนสัญจรผ่านไปมามาก ทำให้สามารถดำเนินงานด้านต่างๆได้โดยไม่ติดขัด
โดยลักษณะของผู้บริโภคส่วนใหญ่จะอยู่ในช่วง วัยรุ่น-วัยทำงาน หรือก็คือ นักศึกษากับคณะอาจารย์ และผู้ทำงานอยู่ในบริเวณใกล้เคียง
จำนวนพนักงานขายสินค้า 1 คนและมีระยะเวลาการขาย 1 เดือน
การขนส่งสินค้า
ใช้วิธีไปรับจากจุดรับสินค้าอยู่บริเวณประชาสงค์เคราะห์26
ข้อดี-ข้อเสียในการขายสินค้าใน ช่องทางที่ 1
ข้อดี
1.ควบคุมได้ง่ายเนื่องจากเป็นรูปแบบช่องทางตรง
2.มีผู้คนสัญจรผ่านไปมามาก
3.มีกลุ่มลูกค้าที่หลากหลาย
4.มีความสะดวกในการขนส่ง
ข้อเสีย
1.ค่าใช้จ่ายในการเช่าสถานที่สูง
2.อยู่ไกลจุดรับสินค้ามากกว่าช่องทางที่ 2
ช่องทางที่ 2 คือนำไปขายที่โรงอาหารของกรมสรรพกร ซึ่งตั้งอยู่ที่ ซอยพหลโยธิน 7สามารถที่จะเดินทางด้วย BTS ลงสถานีอารีย์และต่อรถเพื่อเข้ากรมสรรพกร ซึ่งช่องทางนี้เป็นการผ่านคนกลาง เป็นรูปแบบช่องทาง 1 ระดับ
ผู้ผลิต ผู้ค้าปลีก ผู้บริโภค
ช่องทางนี้ทางเราจะไม่ได้เป็นผู้จำหน่ายด้วยตนเองแต่ใช้การฝากคนกลางไปจำหน่าย ซึ่งเป็นผู้ที่มีความชำนาญเคยทำการค้าขายในพื้นที่นั้นอยู่แล้วการค้าขายจึงเป็นไปโดยง่าย
จำนวนคนกลาง 1 คน และมีระยะเวลาการขาย 1 เดือน
การขนส่งสินค้า
ในทุกๆสัปดาห์ทางเราจะนำสินค้าไปส่งด้วยตนเอง
โดยลักษณะของผู้บริโภคส่วนใหญ่จะอยู่ในวัยทำงานและเป็นผู้ที่ทำงานกับกรมสรรพกร
ข้อดี-ข้อเสียในการขายสินค้าใน ช่องทางที่ 2
ข้อดี
1.ค่าใช้จ่ายต่ำกว่าช่องทางที่ 1
2.พนักงานขายมีความชำนาญ
3.พนักงานกรมสรรพกรส่วนใหญ่อยู่ในวัยที่ชื่นชอบในการทานน้ำพริก
4.อยู่ใกล้จุดรับสินค้า
ข้อเสีย
1.เนื่องจากไม่ได้เป็นผู้ควบคุมดำเนินการด้วยตนเองอาจทำให้เกิดปัญหาได้
2.กลุ่มลูกค้ามีความหลากหลายน้อยกว่าช่องทางที่ 1
ช่องทางที่3 คือ online
ผู้ผลิต ผู้บริโภค
ช่องทางนี้เราจะเป็นผู้จำหน่ายเองโดยตรงให้ผู้บริโภค โดยผ่านทางออนไลน์ เช่น Instagram Facebook line@ เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ผู้บริโภคที่ไม่สามารถมาซื้อสินค้าที่หน้าร้านได้
โดยลักษณะของผู้บริโภคส่วนใหญ่จะเป็นผู้ที่เล่นSocialประจำ และเกิดความสนใจใน สินค้า จึงสั่งผ่านทางOnline
ข้อดี
1.ต้นทุนต่ำ
2.เข้าถึงช่องทางผู้บริโภคได้มากกว่าช่องทางที่1และ2
ข้อเสีย
1.ผู้บริโภคไม่เห็นสินค้าจริง
2.ความไว้ใจของผู้บริโภคต่ำ ว่าทางร้านจะจัดส่งให้ถึงมือผู้บริโภคจริงหรือไม
4. การส่งเสริมการตลาด ( Promotion )
กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย
- กลุ่มนักเรียนและนักศึกษาในย่านมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
- กลุ่มวัยทำงาน และกลุ่มแม่บ้านในย่านมหาวิทยาลัยหอการค้