ไอแซค นิวตัน (Isaac Newton) และ อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ (Albert Einstein) มีมุมมองต่อกาลและอวกาศแตกต่างกัน จึงนำไปสู่ข้อสรุปที่แตกต่างกัน
ที่มา
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้http://www.manager.co.th/science/viewnews.aspx?NewsID=9540000062705
ศาสดาในสมัยพุทธกาล มีมุมมองต่อชีวิตที่แตกต่างกัน จึงนำไปสู่ข้อสรุปที่แตกต่างกัน
ศาสดาปูรณะ กัสสป
มุมมองต่อชีวิต ==> ไม่ได้กล่าวไว้ในคำภีร์
ข้อสรุป ==> ไม่มีกรรม ไม่มีวิบาก อยากทำอะไรก็ทำ ไม่ต้องคิดมาก ไม่มีดี ไม่มีเลว
ศาสดามักขลิ โคศาล
มุมมองต่อชีวิต ==> เส้นด้ายพันอยู่บนแกนหลอดได้
ข้อสรุป ==> 1) กรรม และ ผลกรรม (วิบาก) ไม่มีรูปแบบความสัมพันธ์ที่ชัดเจน เกิดขึ้นเป็นแบบสุ่ม อยากทำอะไรก็ทำ ไม่ต้องคิดมาก ถึงเวลาก็รู้เอง
2) ความสิ้นกรรมเกิดได้เอง เมื่อเวียนว่ายตายเกิดครบ ช่วงเวลาที่กำหนด ดุจด้ายที่คลี่หมดไปจากแกนล้อ
ศาสดาอชิตะ เกสกัมพล
มุมมองต่อชีวิต ==> ชิวิตประกอบขึ้นจาก ดิน น้ำ ลม ไฟ
ข้อสรุบ ==> ไม่มีกรรม ไม่มีวิบาก ตายแล้วก็จบกัน ใช้ชีวิตให้คุ้ม
ร่างกายแตกสลายไป ดินก็ไปรวมกับธาตุดิน น้ำก็ไปรวมกับธาตุน้ำ ฯลฯ
ศาสดาปกุธะ กัจจายนะ
มุมมองต่อชีวิต ==> ชิวิตประกอบขึ้นจาก ดิน น้ำ ลม ไฟ สุข ทุกข์ ชีวะ แต่ละส่วนเป็นอิสระต่อกัน เป็นอมตะ
ข้อสรุบ ==> ไม่มีกรรม ไม่มีวิบาก การพุ่งรบกัน ก็เป็นเพียง เอาอาวุธไปแทรกระหว่างกองทั้ง 7 นี้ จะฆ่าจะแกงก็ทำกันไปเถอะ
ตายไปส่วนประกอบทั้ง 7 นี้ก็แยกย้ายกันไป เมื่อถึงเวลาที่เหมาะสม ส่วนประกอบทั้ง 7 ก็ประกอบกันขึ้นมาใหม่
เวียนว่ายตายเกิดไม่รู้จักจบสิ้น
ศาสดานิครนถ์ นาฏบุตร
มุมมองต่อชีวิต ==> ไม่ได้กล่าวไว้ในคำภีร์
ข้อสรุบ ==> นิครนถ์ในโลกนี้เป็นผู้ห้ามน้ำทั้งปวง ๑
เป็นผู้ประกอบด้วยน้ำทั้งปวง ๑
เป็นผู้กำจัดด้วยน้ำทั้งปวง ๑
เป็นผู้ประพรมด้วยน้ำทั้งปวง ๑
ย่อมเป็นผู้ถึงความสิ้นกรรม คือเป้าหมายสูงสุดของชีวิต
ศาสดาสญชัย เวลัฏฐบุตร
มุมมองต่อชีวิต ==> ชีวิตก็เป็นไปตามที่เห็นที่รับรู้
ข้อสรุบ ==> ยังคงหาข้อสรุปไม่ได้
พุทธศาสดา
มุมมองต่อชีวิต ==> อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา
ข้อสรุบ ==> กรรมดำ มีวิบากดำ กรรมขาว มีวิบากขาว
กรรมทั้งดำทั้งขาว มีวิบากทั้งดำทั้งขาว
กรรมไม่ดำไม่ขาว (มรรค 8) มีวิบากคือความสิ้นกรรม (นิพพาน) นับเป็นเป้าหมายสูงสุดของชีวิต
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้ เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๙ บรรทัดที่ ๑๐๗๒ - ๑๙๑๙. หน้าที่ ๔๕ - ๗๙.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka2/v.php?B=9&A=1072&Z=1919&pagebreak=0
================================================
ปล. ผมเป็นชาวพุทธอินดี้ การตีความอาจแตกต่างพุทธเถรวาท
มุมมองต่อชีวิต สู่บทสรุปของกฏแห่งกรรม
ที่มา [Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
ศาสดาในสมัยพุทธกาล มีมุมมองต่อชีวิตที่แตกต่างกัน จึงนำไปสู่ข้อสรุปที่แตกต่างกัน
ศาสดาปูรณะ กัสสป
มุมมองต่อชีวิต ==> ไม่ได้กล่าวไว้ในคำภีร์
ข้อสรุป ==> ไม่มีกรรม ไม่มีวิบาก อยากทำอะไรก็ทำ ไม่ต้องคิดมาก ไม่มีดี ไม่มีเลว
ศาสดามักขลิ โคศาล
มุมมองต่อชีวิต ==> เส้นด้ายพันอยู่บนแกนหลอดได้
ข้อสรุป ==> 1) กรรม และ ผลกรรม (วิบาก) ไม่มีรูปแบบความสัมพันธ์ที่ชัดเจน เกิดขึ้นเป็นแบบสุ่ม อยากทำอะไรก็ทำ ไม่ต้องคิดมาก ถึงเวลาก็รู้เอง
2) ความสิ้นกรรมเกิดได้เอง เมื่อเวียนว่ายตายเกิดครบ ช่วงเวลาที่กำหนด ดุจด้ายที่คลี่หมดไปจากแกนล้อ
ศาสดาอชิตะ เกสกัมพล
มุมมองต่อชีวิต ==> ชิวิตประกอบขึ้นจาก ดิน น้ำ ลม ไฟ
ข้อสรุบ ==> ไม่มีกรรม ไม่มีวิบาก ตายแล้วก็จบกัน ใช้ชีวิตให้คุ้ม
ร่างกายแตกสลายไป ดินก็ไปรวมกับธาตุดิน น้ำก็ไปรวมกับธาตุน้ำ ฯลฯ
ศาสดาปกุธะ กัจจายนะ
มุมมองต่อชีวิต ==> ชิวิตประกอบขึ้นจาก ดิน น้ำ ลม ไฟ สุข ทุกข์ ชีวะ แต่ละส่วนเป็นอิสระต่อกัน เป็นอมตะ
ข้อสรุบ ==> ไม่มีกรรม ไม่มีวิบาก การพุ่งรบกัน ก็เป็นเพียง เอาอาวุธไปแทรกระหว่างกองทั้ง 7 นี้ จะฆ่าจะแกงก็ทำกันไปเถอะ
ตายไปส่วนประกอบทั้ง 7 นี้ก็แยกย้ายกันไป เมื่อถึงเวลาที่เหมาะสม ส่วนประกอบทั้ง 7 ก็ประกอบกันขึ้นมาใหม่
เวียนว่ายตายเกิดไม่รู้จักจบสิ้น
ศาสดานิครนถ์ นาฏบุตร
มุมมองต่อชีวิต ==> ไม่ได้กล่าวไว้ในคำภีร์
ข้อสรุบ ==> นิครนถ์ในโลกนี้เป็นผู้ห้ามน้ำทั้งปวง ๑
เป็นผู้ประกอบด้วยน้ำทั้งปวง ๑
เป็นผู้กำจัดด้วยน้ำทั้งปวง ๑
เป็นผู้ประพรมด้วยน้ำทั้งปวง ๑
ย่อมเป็นผู้ถึงความสิ้นกรรม คือเป้าหมายสูงสุดของชีวิต
ศาสดาสญชัย เวลัฏฐบุตร
มุมมองต่อชีวิต ==> ชีวิตก็เป็นไปตามที่เห็นที่รับรู้
ข้อสรุบ ==> ยังคงหาข้อสรุปไม่ได้
พุทธศาสดา
มุมมองต่อชีวิต ==> อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา
ข้อสรุบ ==> กรรมดำ มีวิบากดำ กรรมขาว มีวิบากขาว
กรรมทั้งดำทั้งขาว มีวิบากทั้งดำทั้งขาว
กรรมไม่ดำไม่ขาว (มรรค 8) มีวิบากคือความสิ้นกรรม (นิพพาน) นับเป็นเป้าหมายสูงสุดของชีวิต
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
================================================
ปล. ผมเป็นชาวพุทธอินดี้ การตีความอาจแตกต่างพุทธเถรวาท