ตอน.... การบริหารจัดการในระบบโครงสร้างอำนาจซ้อนอำนาจ
เชื่อว่าหลายคนคงยังไม่เข้าใจความซับซ้อนในระบบการใช้อำนาจในประเทศไทย หลายคนเป็นคนรุ่นใหม่ เเละหลายคนห่างจากความเข้าใจ อย่างเเท้จริง เรื่องที่จะเล่าต่อไปนี้ ไม่ใช่เรื่องใหม่ ไม่ใช่ผมคนเดียวที่เข้าใจ ผู้ใหญ่หลายท่าน นักธุระกิจ ข้าราชการ องกรณ์ต่างๆ ก็ทราบกันดี เเละเข้าใจตรงมายาวนาน อำนาจที่ซ้อนอำนาจอีกที่ เป็นที่เข้าใจเเละยอมรับกันมาตลอด จนมาถึง ยุค รธณ 40 (จริงๆพยายามกันมานานเพื่อเปลี่ยน)ซึ่งเป็นยุคที่ อำนาจเปลี่ยนมือ มีความพยายามยึด รธณ เป็นเส้นทางในการใช้อำนาจ เกิดการเปลี่ยนผ่านอำนาจ จากมือที่มองเห็น สู่มือที่ตัวเองเข้าใจว่ามาจากประชาชน
ผมไม่อาจเขียนมันทั้งหมดด้วยสมองอันน้อยนิดเเต่จะพยายามเรียบเรียงให้ครบทุกประเด็น ในวันนี้ขอเขียนในเชิงโครงสร้างก่อน เพื่อทำความเข้าใจ อาจไม่ตรงกับใจใครบางคน ไม่ขอโต้เเย้งใดๆ ถือเป็นความคิดเห็นส่วนตัว เเละจะพยายามไม่เอ่ยชื่อ นามสกุล เพื่อไปพาดพิงทำให้ใครเสียหาย ถือเป็นภาพที่ผมมองเห็นเเละเข้าใจเช่นนั้น
อำนาจที่ซ้อนอำนาจอีกที หลายๆวงการมีระบบจัดการบริหาร ในรูปเเบบต่างกัน ในการดำเนินการ ย่อมต้องมีปัญหา สังคมไทยเป็นสังคมที่มีการยอมรับผู้หลักผู้ใหญ่ ถือเป็นจารีตประเพณีนิยม การจัดการบริหารองกรณ์จึงจัดเรียงลำดับผู้ใหญ่ ลงไปจนเล็กลง เมื่อเกิดปัญหาขึ้นในระหว่างองกรณ์ ผู้ใหญ่หรือผู้มีอำนาจในนั้นจะเป็นผู้ตัดสิน เเละจะยุติเเต่โดยดี เเต่พัฒนาการของสังคม เริ่มรับรู้สิทธิของตัวเองมากขึ้น ความขัดเเย้งที่เริ่มก่อตัวมากขึ้น บางครั้งมีข้ามองค์กรณ์ จึงมีผู้มาตัดสินชี้ขาด
ผู้มีอำนาจตัดสินชี้ขาดคือผัที่กุมกำลังอยู่มีอำนาจถือเป็นสูงสุดในเวาลานั้นๆ พัฒนาการต่อมาของผู้มีอำนาจสูงสุด คือการเข้ามามีอำนาจในการปกครองบริหาร ผมจะไม่เล่าย้อนหลังไปมากเนื่องจากมีการทำการศึกษาไปเเล้วในอดีตเป็นหนังสือมากมาย เเต่มันพัฒนามาถึงยุคที่ผู้ถืออำนาจด้านกำลังพลเข้ามารวบอำนาจทางการเมือง สงผลให้คนกลุ่มนั้น มีอำนาจสูงสุดในการตัดสินหรือให้คุณให้โทษกับคนใด้คนหนึ่งก็ได้
เล่าให้เห็นภาพ ความขัดเเย้งในองกรณ์ในชั้นสูงๆเรื่องการเเต่งตั้ง จึงไปจบที่บ้านหลังหนึ่งเสมอๆ จนเป็นประเพณี จึงกลายเป็นศูนย์รวมอำนาจเเละเป็นที่เข้าใจกันในสังคม นับจากนั้นมา เพียงเเต่ผลัดเปลี่ยนกันไปมาเมื่อคนกลุ่มนั้นหมดอำนาจลง จะด้วยเหตุผลใดๆอาจเขียนเป็นบางกรณี ตัดเฉพาะหลังปี40 ขอเป็นที่เข้าใจ
การที่บ้านหลังนั้นมีอำนาจสูงสุดในการจัดการอำนาจที่จัดสรรไม่ลงตัว มันลามลงไปทั่ว จนถึงด้านธุระกิจซึ่งในที่นี้หมายถึงธุระกิจใหญ่ๆซึ่งครอบครองมากันไม่กี่ตระกูล สืบต่อกันมา ธุระกิจใหม่ที่มีที่ท่าจะเติบโตหรือมีชื่อเสียงระดับโลก เเบร์นดัง จะมีชื่อตระกูลเหล่านี้ครอบครอง เป็นธรรมดา เมื่อผลประโยชน์ขัดกัน ต้องมีผู้ชี้ขาดก็จะจบลงด้วยคนในบ้านหลังนั้น เป็นธรรมเนียมบฎิบัติ เป็นที่รู้กัน
ถือเป็นเรื่องธรรมดาของสังคมมายาวนาน เเต่สิ่งที่เกิดขึ้นตามมาคือ เมื่อเกิดศูนย์รวมอำนาจ จึงเกิดวลีที่ว่าลูกใคร สายไหน เมื่อมีความชัดเจนของเส้นสาย จึงเกิดการวิ่งเต้น วิ่งเข้าหา อ้างถึง ไปจนเเอบอ้าง มีการเเบ่งสายชัดเจนในองกรณ์นั้น ถ้าขึ้นตรงกับสายบ้านนี้ คือการมีเส้นทางที่ชัดเจน ลูกบ้านนั้นสายทหาร ลูกบ้านนั้น สายข้าราชการ ลูกบ้านนั้นสายตำรวจ จนถึงลูกบ้านนั้นสายธุระกิจ มีการอ้างถึง จนบางที่ให้เป็นที่ปรึกษาเพื่อยืนยันความชัดเจนในเส้นสายนั้นๆ
เพื่อความชัดเจนขอเขียนถึงเรื่องสายธุระกิจก่อนซึ่งอาจเป็นภาพที่ชัดเเละเข้าใจได่ง่าย คนไม่กี่ตระกูลที่ครองธุระกิจที่มีขนาดใหญ่ถึงกลาง ถือเป็นเรื่องจำเป็นที่จะต้องจัดหาคนของเด็กในสายบ้านนั้นมาเป็นโลโก้ประจำบริษัท ตำเเหน่งเท่ๆ คือเป็นที่ปรึกษาบ้าง ประธานที่ปรึกษาบ้าง อะไรทำนองนี้ มีข้อดีคือ หากมีความขัดเเย้งโลโก้ที่ปรึกษาเหล่านี้จะช่วยได้ดี สังเกตุไปบริษัทไหนๆเดี๋ยวนี้จะมีรูปคู่หรือถ้าอ่านรายชื่อกรรมการผู้บริหาร มักจะมีชื่อคนสายเหล่านี้ปรากฎอยู่ เป็นที่รับรู้กันในสังคม เกลื่อนไปทั่วเดี๋ยวนี้ไม่ต้องเด็กบ้านนั้นเเต่อยู่ในกลุ่มผู้ถือดุลอำนาจก็ใช้กันเนื่องจากมีผู้ถือดุลเพิ่มเข้ามาใหม่ ซึ่งเป็นที่มาของความขัดเเย้งในปัจจุบัน ที่มันยุ่งเหยิงเกินใครจะจัดการได้
เมื่อเกิดการขัดเเย้งสายตรงจากที่ปรึกษาเหล่านี้จะคุยกันก่อน หากตกลงกันไม่ได้ในระดับนี้ ก็จะไปจบที่บ้านหลังนี้ ถือเป็นที่ยุติ ในบทบาทของคนเหล่านี้ยังสามารถใช้อำนาจที่ซ้อนอำนาจทั้งของรัฐเเละเอกชน สามารถ สั่งการ ขอ ฝาก ใช้หาประโยชน์ ลูกเรียนจบอยากเข้าทำงานในรัฐวิสหกิจ ราชการ หรือตำเเหน่งในองกรณ์เอกชน คนเหล่านี้สามารถฝากเข้าได้ ยันฝากเข้าโรงเรียนเรียนดังๆ
มันเป็นประเพณีไปเเล้วยาวนานจนสังคมยอมรับโดยเฉพาะคนใน กทม ถือเป็นเรื่องปรกติ ฉนั้นอย่าเเปลกใจ ทำไมคน กทม จึงมีเหตุผลตรงข้ามกับสิ่งที่ควรจะเป็น คือเสพติดอำนาจซ้อนรัฐ ซึ่งหากไม่เป็นเช่นนั้น ย้อนไปเเบบเดิมๆ มันยิ่งจำกัดวงไม่กี่ตระกูล เมื่อมีการเชื่อมต่อมีพัฒนาการทางด้านฐานะที่ดีขึ้น การเสพติดอำนาจนี้ ถือเป็นสิ่งที่สังคม กทม อยากได้เเละอยากให้มีอยู่ต่อไป เพื่อการดำเนินชีวิตในระดับชนชั้น
การพึงพาอำนาจซึ่งซ้อนอำนาจเป็นเรื่องจำเป็นของสังคมไปเเล้วเนินนานจนฝังรากลึก การยอมรับความเท่ากันในเชิงโครงสร้าง มิอาจยอมรับได้เมื่อคนบางส่วนยังอยากได้สิทธิที่มากกว่า คนที่ตัวเองมองว่าต่ำชั้นกว่า ทั้งในด้านฐานะเเละความรู้ ระดับสังคม จึงอย่าเเปลกใจเเละอย่าพยายามมากจนเกินไป ต้องใชเวลาค่อยๆปรับ ความเท่าเทียมบนโลกนี้มันไม่มีหรอก เพียงเเต่ปรับความสมดุลให้ยอมรับกันได้ในระดับที่พอดี
อำนาจซ้อนอำนาจในเชิงโครงสร้าง ในบริบทต่างๆ ในองกรณ์อื่นๆก็จะคล้ายๆกันเเต่อาจต่างเพียงรูปเเบบการใช้ซึ่งในโอกาสหน้าถ้ามีคนสนใจก็จะนำมาเขียนเพิ่มเติม เพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกัน เพื่อเเก้ปัญหาที่เข้าใจตรงกัน สังคมวันนี้ที่วุนวายเนื่องจากปรับสมดุล ยอมรับซึ่งกันเเละกันยังไม่ได้ อำนาจที่มีจุดศูนย์รวมก็มีข้อดี อำนาจที่กระจายศูนย์ก็ดี เเต่มันจะดีต่อเมื่อมันเหมาะสมกับยุคสมัยนั้นๆ.........ขอบคุณ
ความซับซ้อนเชิงโครงสร้าง (1)
เชื่อว่าหลายคนคงยังไม่เข้าใจความซับซ้อนในระบบการใช้อำนาจในประเทศไทย หลายคนเป็นคนรุ่นใหม่ เเละหลายคนห่างจากความเข้าใจ อย่างเเท้จริง เรื่องที่จะเล่าต่อไปนี้ ไม่ใช่เรื่องใหม่ ไม่ใช่ผมคนเดียวที่เข้าใจ ผู้ใหญ่หลายท่าน นักธุระกิจ ข้าราชการ องกรณ์ต่างๆ ก็ทราบกันดี เเละเข้าใจตรงมายาวนาน อำนาจที่ซ้อนอำนาจอีกที่ เป็นที่เข้าใจเเละยอมรับกันมาตลอด จนมาถึง ยุค รธณ 40 (จริงๆพยายามกันมานานเพื่อเปลี่ยน)ซึ่งเป็นยุคที่ อำนาจเปลี่ยนมือ มีความพยายามยึด รธณ เป็นเส้นทางในการใช้อำนาจ เกิดการเปลี่ยนผ่านอำนาจ จากมือที่มองเห็น สู่มือที่ตัวเองเข้าใจว่ามาจากประชาชน
ผมไม่อาจเขียนมันทั้งหมดด้วยสมองอันน้อยนิดเเต่จะพยายามเรียบเรียงให้ครบทุกประเด็น ในวันนี้ขอเขียนในเชิงโครงสร้างก่อน เพื่อทำความเข้าใจ อาจไม่ตรงกับใจใครบางคน ไม่ขอโต้เเย้งใดๆ ถือเป็นความคิดเห็นส่วนตัว เเละจะพยายามไม่เอ่ยชื่อ นามสกุล เพื่อไปพาดพิงทำให้ใครเสียหาย ถือเป็นภาพที่ผมมองเห็นเเละเข้าใจเช่นนั้น
อำนาจที่ซ้อนอำนาจอีกที หลายๆวงการมีระบบจัดการบริหาร ในรูปเเบบต่างกัน ในการดำเนินการ ย่อมต้องมีปัญหา สังคมไทยเป็นสังคมที่มีการยอมรับผู้หลักผู้ใหญ่ ถือเป็นจารีตประเพณีนิยม การจัดการบริหารองกรณ์จึงจัดเรียงลำดับผู้ใหญ่ ลงไปจนเล็กลง เมื่อเกิดปัญหาขึ้นในระหว่างองกรณ์ ผู้ใหญ่หรือผู้มีอำนาจในนั้นจะเป็นผู้ตัดสิน เเละจะยุติเเต่โดยดี เเต่พัฒนาการของสังคม เริ่มรับรู้สิทธิของตัวเองมากขึ้น ความขัดเเย้งที่เริ่มก่อตัวมากขึ้น บางครั้งมีข้ามองค์กรณ์ จึงมีผู้มาตัดสินชี้ขาด
ผู้มีอำนาจตัดสินชี้ขาดคือผัที่กุมกำลังอยู่มีอำนาจถือเป็นสูงสุดในเวาลานั้นๆ พัฒนาการต่อมาของผู้มีอำนาจสูงสุด คือการเข้ามามีอำนาจในการปกครองบริหาร ผมจะไม่เล่าย้อนหลังไปมากเนื่องจากมีการทำการศึกษาไปเเล้วในอดีตเป็นหนังสือมากมาย เเต่มันพัฒนามาถึงยุคที่ผู้ถืออำนาจด้านกำลังพลเข้ามารวบอำนาจทางการเมือง สงผลให้คนกลุ่มนั้น มีอำนาจสูงสุดในการตัดสินหรือให้คุณให้โทษกับคนใด้คนหนึ่งก็ได้
เล่าให้เห็นภาพ ความขัดเเย้งในองกรณ์ในชั้นสูงๆเรื่องการเเต่งตั้ง จึงไปจบที่บ้านหลังหนึ่งเสมอๆ จนเป็นประเพณี จึงกลายเป็นศูนย์รวมอำนาจเเละเป็นที่เข้าใจกันในสังคม นับจากนั้นมา เพียงเเต่ผลัดเปลี่ยนกันไปมาเมื่อคนกลุ่มนั้นหมดอำนาจลง จะด้วยเหตุผลใดๆอาจเขียนเป็นบางกรณี ตัดเฉพาะหลังปี40 ขอเป็นที่เข้าใจ
การที่บ้านหลังนั้นมีอำนาจสูงสุดในการจัดการอำนาจที่จัดสรรไม่ลงตัว มันลามลงไปทั่ว จนถึงด้านธุระกิจซึ่งในที่นี้หมายถึงธุระกิจใหญ่ๆซึ่งครอบครองมากันไม่กี่ตระกูล สืบต่อกันมา ธุระกิจใหม่ที่มีที่ท่าจะเติบโตหรือมีชื่อเสียงระดับโลก เเบร์นดัง จะมีชื่อตระกูลเหล่านี้ครอบครอง เป็นธรรมดา เมื่อผลประโยชน์ขัดกัน ต้องมีผู้ชี้ขาดก็จะจบลงด้วยคนในบ้านหลังนั้น เป็นธรรมเนียมบฎิบัติ เป็นที่รู้กัน
ถือเป็นเรื่องธรรมดาของสังคมมายาวนาน เเต่สิ่งที่เกิดขึ้นตามมาคือ เมื่อเกิดศูนย์รวมอำนาจ จึงเกิดวลีที่ว่าลูกใคร สายไหน เมื่อมีความชัดเจนของเส้นสาย จึงเกิดการวิ่งเต้น วิ่งเข้าหา อ้างถึง ไปจนเเอบอ้าง มีการเเบ่งสายชัดเจนในองกรณ์นั้น ถ้าขึ้นตรงกับสายบ้านนี้ คือการมีเส้นทางที่ชัดเจน ลูกบ้านนั้นสายทหาร ลูกบ้านนั้น สายข้าราชการ ลูกบ้านนั้นสายตำรวจ จนถึงลูกบ้านนั้นสายธุระกิจ มีการอ้างถึง จนบางที่ให้เป็นที่ปรึกษาเพื่อยืนยันความชัดเจนในเส้นสายนั้นๆ
เพื่อความชัดเจนขอเขียนถึงเรื่องสายธุระกิจก่อนซึ่งอาจเป็นภาพที่ชัดเเละเข้าใจได่ง่าย คนไม่กี่ตระกูลที่ครองธุระกิจที่มีขนาดใหญ่ถึงกลาง ถือเป็นเรื่องจำเป็นที่จะต้องจัดหาคนของเด็กในสายบ้านนั้นมาเป็นโลโก้ประจำบริษัท ตำเเหน่งเท่ๆ คือเป็นที่ปรึกษาบ้าง ประธานที่ปรึกษาบ้าง อะไรทำนองนี้ มีข้อดีคือ หากมีความขัดเเย้งโลโก้ที่ปรึกษาเหล่านี้จะช่วยได้ดี สังเกตุไปบริษัทไหนๆเดี๋ยวนี้จะมีรูปคู่หรือถ้าอ่านรายชื่อกรรมการผู้บริหาร มักจะมีชื่อคนสายเหล่านี้ปรากฎอยู่ เป็นที่รับรู้กันในสังคม เกลื่อนไปทั่วเดี๋ยวนี้ไม่ต้องเด็กบ้านนั้นเเต่อยู่ในกลุ่มผู้ถือดุลอำนาจก็ใช้กันเนื่องจากมีผู้ถือดุลเพิ่มเข้ามาใหม่ ซึ่งเป็นที่มาของความขัดเเย้งในปัจจุบัน ที่มันยุ่งเหยิงเกินใครจะจัดการได้
เมื่อเกิดการขัดเเย้งสายตรงจากที่ปรึกษาเหล่านี้จะคุยกันก่อน หากตกลงกันไม่ได้ในระดับนี้ ก็จะไปจบที่บ้านหลังนี้ ถือเป็นที่ยุติ ในบทบาทของคนเหล่านี้ยังสามารถใช้อำนาจที่ซ้อนอำนาจทั้งของรัฐเเละเอกชน สามารถ สั่งการ ขอ ฝาก ใช้หาประโยชน์ ลูกเรียนจบอยากเข้าทำงานในรัฐวิสหกิจ ราชการ หรือตำเเหน่งในองกรณ์เอกชน คนเหล่านี้สามารถฝากเข้าได้ ยันฝากเข้าโรงเรียนเรียนดังๆ
มันเป็นประเพณีไปเเล้วยาวนานจนสังคมยอมรับโดยเฉพาะคนใน กทม ถือเป็นเรื่องปรกติ ฉนั้นอย่าเเปลกใจ ทำไมคน กทม จึงมีเหตุผลตรงข้ามกับสิ่งที่ควรจะเป็น คือเสพติดอำนาจซ้อนรัฐ ซึ่งหากไม่เป็นเช่นนั้น ย้อนไปเเบบเดิมๆ มันยิ่งจำกัดวงไม่กี่ตระกูล เมื่อมีการเชื่อมต่อมีพัฒนาการทางด้านฐานะที่ดีขึ้น การเสพติดอำนาจนี้ ถือเป็นสิ่งที่สังคม กทม อยากได้เเละอยากให้มีอยู่ต่อไป เพื่อการดำเนินชีวิตในระดับชนชั้น
การพึงพาอำนาจซึ่งซ้อนอำนาจเป็นเรื่องจำเป็นของสังคมไปเเล้วเนินนานจนฝังรากลึก การยอมรับความเท่ากันในเชิงโครงสร้าง มิอาจยอมรับได้เมื่อคนบางส่วนยังอยากได้สิทธิที่มากกว่า คนที่ตัวเองมองว่าต่ำชั้นกว่า ทั้งในด้านฐานะเเละความรู้ ระดับสังคม จึงอย่าเเปลกใจเเละอย่าพยายามมากจนเกินไป ต้องใชเวลาค่อยๆปรับ ความเท่าเทียมบนโลกนี้มันไม่มีหรอก เพียงเเต่ปรับความสมดุลให้ยอมรับกันได้ในระดับที่พอดี
อำนาจซ้อนอำนาจในเชิงโครงสร้าง ในบริบทต่างๆ ในองกรณ์อื่นๆก็จะคล้ายๆกันเเต่อาจต่างเพียงรูปเเบบการใช้ซึ่งในโอกาสหน้าถ้ามีคนสนใจก็จะนำมาเขียนเพิ่มเติม เพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกัน เพื่อเเก้ปัญหาที่เข้าใจตรงกัน สังคมวันนี้ที่วุนวายเนื่องจากปรับสมดุล ยอมรับซึ่งกันเเละกันยังไม่ได้ อำนาจที่มีจุดศูนย์รวมก็มีข้อดี อำนาจที่กระจายศูนย์ก็ดี เเต่มันจะดีต่อเมื่อมันเหมาะสมกับยุคสมัยนั้นๆ.........ขอบคุณ