ครูบาอาจารย์ เเต่ละท่านก็จะมีอุบายหลักๆ ในการเจริญสมาธิที่เเตกต่างกัน
เช่น ท่านพ่อลี ท่านกล่าวถึงการเจริญ อานาปานะ เเบบพิสดาร
เริ่มจากการสังเกตุ ลักษณะ เเห่งลม ด้วยอาการคู่ เช่น ลมเข้ายาว ออกสั้น ลมเข้าร้อน ออกเย็น
ทำให้สามารถตั้ง ตั้งเป็นองค์วิตก วิจารณ์ได้ชัดเจน
ผมมองว่าสิ่งเหล่านี้ก็เหมือนเป็น วิทยานิพนธ์ อันทรงคุณค่าที่เกิดจาก ภูมิปัญญาโดยเเท้
.
.
หลวงปู่ดุลย์ สมัยเเรกบวช ท่านได้เจริญกรรมฐานเเบบ โบราณ มีการอาราธณา ปีติ 5 เป็นต้น
เเต่ท่านกลับไม่ได้พบความก้าวหน้าทางสมาธิ เเต่ในภายหลังท่านได้เจริญในเเนวทางที่เรียบง่าย เเต่ตรงจุด
เช่นการ สังเกตุ อาการรู้
เพราะไม่ว่า จะใช่คำบริกรรม เพ่งกสิณ ดูลม ดูกาย ล้วนอาศัยอาการรู้ เป็นเชื้อทั้งสิ้น
ในการเจริญ การฝึกผู้รู้ หลวงปู่ท่านให้เราฝึกสังเกตุ เป็นการตั้งวิตกอย่างหนึ่ง
ในธรรมชาติ เมื่อจิต เสพอารมณ์จนอิ่ม ก็จะมีสัมปชัญญะ ย้อนเข้ามารู้ตัว การระลึกรู้ในอาการรู้ตัวคือสติ
ก็ให้สังเกตุธรรมตัวนี้ ก็เมื่อจิต เกิดความคุ้นชิน การทรง เเละ การระลึกรู้ ก็จะละเอียด เเละถี่ขึ้น
อีกทั้งท่านยังมี อธิบายเเบบพิศดารไว้ด้วย เช่น ตั้งเจตนา ในการระลึกรู้อารมณ์ เช่น นี่คือโกรธ
นี่คือ ชอบ
.
.
ย้อนกลับมา ใน การปฏิบัติ เเละคำถาม การปฏิบัติ ในเเนวทางของหลวงปู่ผมรู้สึกว่า ง่าย
ไม่ต้องใช้พลังงานมาก ประยุกต์ ใช้ตามหลักโพชฌงค์ 7 ได้ดี เหมาะสำหรับช่วงเวลาจิต ขาดกำลัง
เเต่ผมเกิดขอสงสัย การฝึกเเบบ นี้ คล้ายกับการฝึก อรูปฌานของโยคีหรือไม่
เพราะติดนิสัยในการภาวนาอย่างหนึ่งคือ มันจะไม่จับที่องค์บริกรรม อะไร คือจะโฟกัสอย่างเดียวในความไม่มีอะไร
จนจิตดิ่ง ผมเข้าใจว่าลักษณะนี้ คือการฝึกเเบบ ฤาษี ในเวลาที่อยู่ตามป่า ตามถ้ำ ตามอากาศหนาว
จิตมันจะเกิดกลไก หลบหนีจากกาย จากความคิด จิตมันจะไปตั้งวิตกที่ความไม่อะไร จนเข้าสภาวะจำศีล หรือ อัปปนา
เเต่ตามหลักการ ทางพุทธ ควรจับที่รูป เช่น ลม กาย เป็นต้น เพราะสามารถพิจารณา เป็นอนิจลักษณะ ได้ง่ายกว่า
ผมคิดว่า เเนวทางของหลวงปู่มีความคล้าย กับ เเนวทางเจริญอรูปฌาน
เลยอยากสอบถามท่านที่มีความเเตกฉาน ช่วยอธิบายสมมุติให้กระจ่างด้วยครับ
เช่น อาการที่จิตรู้ตัว กับ ตั้งเจตนาไม่ได้จิตรับรู้กาย
ิขอสอบถาม วิธีปฏิบัติ สังเกตุผู้รู้ ตามเเบบฉบับหลวงปู่ดุลย์
เช่น ท่านพ่อลี ท่านกล่าวถึงการเจริญ อานาปานะ เเบบพิสดาร
เริ่มจากการสังเกตุ ลักษณะ เเห่งลม ด้วยอาการคู่ เช่น ลมเข้ายาว ออกสั้น ลมเข้าร้อน ออกเย็น
ทำให้สามารถตั้ง ตั้งเป็นองค์วิตก วิจารณ์ได้ชัดเจน
ผมมองว่าสิ่งเหล่านี้ก็เหมือนเป็น วิทยานิพนธ์ อันทรงคุณค่าที่เกิดจาก ภูมิปัญญาโดยเเท้
.
.
หลวงปู่ดุลย์ สมัยเเรกบวช ท่านได้เจริญกรรมฐานเเบบ โบราณ มีการอาราธณา ปีติ 5 เป็นต้น
เเต่ท่านกลับไม่ได้พบความก้าวหน้าทางสมาธิ เเต่ในภายหลังท่านได้เจริญในเเนวทางที่เรียบง่าย เเต่ตรงจุด
เช่นการ สังเกตุ อาการรู้
เพราะไม่ว่า จะใช่คำบริกรรม เพ่งกสิณ ดูลม ดูกาย ล้วนอาศัยอาการรู้ เป็นเชื้อทั้งสิ้น
ในการเจริญ การฝึกผู้รู้ หลวงปู่ท่านให้เราฝึกสังเกตุ เป็นการตั้งวิตกอย่างหนึ่ง
ในธรรมชาติ เมื่อจิต เสพอารมณ์จนอิ่ม ก็จะมีสัมปชัญญะ ย้อนเข้ามารู้ตัว การระลึกรู้ในอาการรู้ตัวคือสติ
ก็ให้สังเกตุธรรมตัวนี้ ก็เมื่อจิต เกิดความคุ้นชิน การทรง เเละ การระลึกรู้ ก็จะละเอียด เเละถี่ขึ้น
อีกทั้งท่านยังมี อธิบายเเบบพิศดารไว้ด้วย เช่น ตั้งเจตนา ในการระลึกรู้อารมณ์ เช่น นี่คือโกรธ
นี่คือ ชอบ
.
.
ย้อนกลับมา ใน การปฏิบัติ เเละคำถาม การปฏิบัติ ในเเนวทางของหลวงปู่ผมรู้สึกว่า ง่าย
ไม่ต้องใช้พลังงานมาก ประยุกต์ ใช้ตามหลักโพชฌงค์ 7 ได้ดี เหมาะสำหรับช่วงเวลาจิต ขาดกำลัง
เเต่ผมเกิดขอสงสัย การฝึกเเบบ นี้ คล้ายกับการฝึก อรูปฌานของโยคีหรือไม่
เพราะติดนิสัยในการภาวนาอย่างหนึ่งคือ มันจะไม่จับที่องค์บริกรรม อะไร คือจะโฟกัสอย่างเดียวในความไม่มีอะไร
จนจิตดิ่ง ผมเข้าใจว่าลักษณะนี้ คือการฝึกเเบบ ฤาษี ในเวลาที่อยู่ตามป่า ตามถ้ำ ตามอากาศหนาว
จิตมันจะเกิดกลไก หลบหนีจากกาย จากความคิด จิตมันจะไปตั้งวิตกที่ความไม่อะไร จนเข้าสภาวะจำศีล หรือ อัปปนา
เเต่ตามหลักการ ทางพุทธ ควรจับที่รูป เช่น ลม กาย เป็นต้น เพราะสามารถพิจารณา เป็นอนิจลักษณะ ได้ง่ายกว่า
ผมคิดว่า เเนวทางของหลวงปู่มีความคล้าย กับ เเนวทางเจริญอรูปฌาน
เลยอยากสอบถามท่านที่มีความเเตกฉาน ช่วยอธิบายสมมุติให้กระจ่างด้วยครับ
เช่น อาการที่จิตรู้ตัว กับ ตั้งเจตนาไม่ได้จิตรับรู้กาย