1. สมมติว่ามีความโกรธขึ้นมา ตัวเราไปดูความโกรธ ความโกรธหายไป การทำลายผู้รู้คือ การที่รู้สึกตัวว่าเรากำลังดูความโกรธ
ก็คือ ผู้รู้ 2 ทำลายผู้รู้ 1 (ที่ดูความโกรธ)
2. จริง ๆ มันไม่ใช่การดูนี่นา เพราะการดูคือ การเพ่ง ความโกรธขึ้นมาแล้วหายไปอย่างรวดเร็ว นี่คือ มันเป็นความรู้สึก?
ถ้าเราดูความโกรธ นั่นคือ เราหลงไปดู ไปเพ่งแล้ว นั่นคือ เกิด "ภพ" ใช่ไหมครับ เกิดตันหาคือความอยากดู เกิดอุปาทานคือ การยึด
สรุปคือ พบผู้รู้ ให้ทำลายผู้รู้คือ รู้ตัวว่า รู้ตัวว่ากำลังเพ่งอยู่ เอ๊ะชักงง
3. ปกติ ความโกรธ (ความไม่พอใจ ปฏิฆะ?) จะเกิดขึ้นแล้วหายอย่างรวดเร็ว แต่มีความโกรธบางชนิด ที่โกรธบางคนแล้วไม่หาย โกรธมากขึ้นเรื่อย ๆ
ความโกรธนาน ความโกรธแบบนี้ ทำงานอย่างไรครับ (หรือว่าอันแรกคือปฏิฆะ อันที่สองคือโทสะ?ป
พบผู้รู้ให้ทำลายผุ้รู้
ก็คือ ผู้รู้ 2 ทำลายผู้รู้ 1 (ที่ดูความโกรธ)
2. จริง ๆ มันไม่ใช่การดูนี่นา เพราะการดูคือ การเพ่ง ความโกรธขึ้นมาแล้วหายไปอย่างรวดเร็ว นี่คือ มันเป็นความรู้สึก?
ถ้าเราดูความโกรธ นั่นคือ เราหลงไปดู ไปเพ่งแล้ว นั่นคือ เกิด "ภพ" ใช่ไหมครับ เกิดตันหาคือความอยากดู เกิดอุปาทานคือ การยึด
สรุปคือ พบผู้รู้ ให้ทำลายผู้รู้คือ รู้ตัวว่า รู้ตัวว่ากำลังเพ่งอยู่ เอ๊ะชักงง
3. ปกติ ความโกรธ (ความไม่พอใจ ปฏิฆะ?) จะเกิดขึ้นแล้วหายอย่างรวดเร็ว แต่มีความโกรธบางชนิด ที่โกรธบางคนแล้วไม่หาย โกรธมากขึ้นเรื่อย ๆ
ความโกรธนาน ความโกรธแบบนี้ ทำงานอย่างไรครับ (หรือว่าอันแรกคือปฏิฆะ อันที่สองคือโทสะ?ป