โดยท่ายผู้หญิงเอิงเอยได้อธิบายคร่าวๆ ว่า..
(1)...บาลีไวยากรณ์ไม่ได้กำหนดไว้ว่า ธรรม หมายถึง ธรรมก่อนหน้าบวกกัน ค่ะ
คำว่า “ธรรม” หรือ คำใดก็ตามในพระบาลี ถ้าอยากทราบว่าท่านแสดงอรรถอย่างไร
ต้องรู้ไวยากรณ์พร้อมศึกษาอรรถกถาหรือคัมภีร์ชั้นรองลงมาค่ะ ข้อความในแต่ละแห่งไม่สามารถคิดเอาเองแบบฟันธงได้เลยค่ะ
อย่างเช่น คำว่า “สัพเพธัมมา อนัตตา” ในพระสูตรนี้
(2)“สัพเพธัมมา” ท่านหมายถึง ธรรมทั้ง ปวง คือ ทั้งสังขารธรรมและวิสังขารธรรม นั้นไม่เป็นอัตตา
(3)คำว่า “อัตตา” หมายถึง ตัวตนแก่นแกนของสิ่งใด มีคุณสมบัติคงที่พอที่จะเป็นตัวตน สามารถกำหนด บังคับให้เป็นไปตามต้องการได้
แนะนำอ่านเพิ่มเติมในหนังสือของ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ. ปยุตโต )นะคะ มีหลายเล่มลองค้นดูค่ะ
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ตอบว่า.....
แสดงว่าท่านยังเข้าใจไม่ถูกต้องดีนัก..
(1) เข้าใจได้ถูกต้อง แต่ท่านงงอะไรของท่านไปเอง
(2) อันนี้ท่านเข้าใจเอาเอง และไม่ถูกต้อง
(3 ) อันนี้เข้าใจได้ถูกต้องเหมือนผมเป็ะเลย.....
ประเด็นที่ต้องการถามของท่านคือ คำว่า...หลักการนี้มีว่าอย่างไรคะ?
ตอบว่า.....
สูตร หรือสมการนี้มีอยู่ว่า...
.......สิ่งไหนไม่เที่ยง ......สิ่งนั้นเป็นทุกข์
.......สิ่งใดเป็นทุกข์ ......สิ่งนั้นเป็นอนัตตา
แสดงชัดเจนว่า สิ่งที่ไม่เที่ยง กับสิ่งที่เป็นทุกข์ มันก็คือสิ่งอันเดียวกันนั้นแหละ
แม่นบ่ ?
......สังขารทั้งหลายไม่เที่ยง ......สังขารทั้งหลายเป็นทุกข์ ......ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา
เมื่อว่าโดยสมการความจริง..คำว่าธรรมทั้งปวง มันก็คือสังขารทั้งหลายนั่นเอง.....
ในเมื่อมันก็เป็นสูตรเป็นสมการเดียวกันอย่างนั้นแท้ๆ ไฉนใยเล่ามันจะไม่เป็นอย่างเดียวกันล่ะ
แต่ที่ใช้ตรัสคำว่า "ธรรมทั้งปวง" ก็เพราะ เพื่อรวบรัดตัดความจึงรวมเป็นคำว่า ธรรมทั้งปวง
มันก็คือหลักการตามข้อ (1) ที่ท่านยกมาเองนั่นแหละนะ...
หวังว่าคงเข้าใจ...
มันเป๋นจะอิ้ๆเน้อ
จะอู้หื้อ.....
ท่านผัหญิง เอิงเอย ข้องใจเรื่องธรรมทั้งปวงว่า หลักการนี้มีว่าอย่างไรคะ
(1)...บาลีไวยากรณ์ไม่ได้กำหนดไว้ว่า ธรรม หมายถึง ธรรมก่อนหน้าบวกกัน ค่ะ
คำว่า “ธรรม” หรือ คำใดก็ตามในพระบาลี ถ้าอยากทราบว่าท่านแสดงอรรถอย่างไร
ต้องรู้ไวยากรณ์พร้อมศึกษาอรรถกถาหรือคัมภีร์ชั้นรองลงมาค่ะ ข้อความในแต่ละแห่งไม่สามารถคิดเอาเองแบบฟันธงได้เลยค่ะ
อย่างเช่น คำว่า “สัพเพธัมมา อนัตตา” ในพระสูตรนี้
(2)“สัพเพธัมมา” ท่านหมายถึง ธรรมทั้ง ปวง คือ ทั้งสังขารธรรมและวิสังขารธรรม นั้นไม่เป็นอัตตา
(3)คำว่า “อัตตา” หมายถึง ตัวตนแก่นแกนของสิ่งใด มีคุณสมบัติคงที่พอที่จะเป็นตัวตน สามารถกำหนด บังคับให้เป็นไปตามต้องการได้
แนะนำอ่านเพิ่มเติมในหนังสือของ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ. ปยุตโต )นะคะ มีหลายเล่มลองค้นดูค่ะ
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ตอบว่า.....
แสดงว่าท่านยังเข้าใจไม่ถูกต้องดีนัก..
(1) เข้าใจได้ถูกต้อง แต่ท่านงงอะไรของท่านไปเอง
(2) อันนี้ท่านเข้าใจเอาเอง และไม่ถูกต้อง
(3 ) อันนี้เข้าใจได้ถูกต้องเหมือนผมเป็ะเลย.....
ประเด็นที่ต้องการถามของท่านคือ คำว่า...หลักการนี้มีว่าอย่างไรคะ?
ตอบว่า.....
สูตร หรือสมการนี้มีอยู่ว่า...
.......สิ่งไหนไม่เที่ยง ......สิ่งนั้นเป็นทุกข์
.......สิ่งใดเป็นทุกข์ ......สิ่งนั้นเป็นอนัตตา
แสดงชัดเจนว่า สิ่งที่ไม่เที่ยง กับสิ่งที่เป็นทุกข์ มันก็คือสิ่งอันเดียวกันนั้นแหละ
แม่นบ่ ?
......สังขารทั้งหลายไม่เที่ยง ......สังขารทั้งหลายเป็นทุกข์ ......ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา
เมื่อว่าโดยสมการความจริง..คำว่าธรรมทั้งปวง มันก็คือสังขารทั้งหลายนั่นเอง.....
ในเมื่อมันก็เป็นสูตรเป็นสมการเดียวกันอย่างนั้นแท้ๆ ไฉนใยเล่ามันจะไม่เป็นอย่างเดียวกันล่ะ
แต่ที่ใช้ตรัสคำว่า "ธรรมทั้งปวง" ก็เพราะ เพื่อรวบรัดตัดความจึงรวมเป็นคำว่า ธรรมทั้งปวง
มันก็คือหลักการตามข้อ (1) ที่ท่านยกมาเองนั่นแหละนะ...
หวังว่าคงเข้าใจ...
มันเป๋นจะอิ้ๆเน้อ
จะอู้หื้อ.....