ชื่อเพลงว่า ธรรมทั้งปวง..
(1) "ธรรมทั้งปวง" (เฉยๆ) ก็คือทั้งหมดทั้งปวงที่พระพุทธตรัสถึงโดยทั่วๆไป
ไม่มียกเว้นรวมทั้งนิพพานด้วยนั่นแหละ เช่นตรัสว่า ธรรมทั้งปวงควรรู้ยิ่ง เป็นต้น....
(2) "ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา" ประโยคนี้เป็นการตรัสถึงโดยเฉพาะ โดยมีเงื่อนไข
หรือข้อยกเว้นอยู่แล้วในบริบทที่ทรงตรัส ถ้าพบคำว่า*****ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา*****ในที่ไหนๆ
จะต้องพบคำว่า "สังขารทั้งหลายไม่เที่ยง" + "สังขารทั้งหลายเป็นทุกข์" เสมอทุกที่
แล้วจึงตามด้วยคำว่า "ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา" ทุกครั้งที่ตรัสประโยคนี้.....
กรณีย์ที่ 1.
....ที่ต้องตรัสว่า "ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา" ทำไมไม่ตรัสว่าสังขารทั้งปวงเป็นอนัตตา
นั่นเพราะเป็นหลักการทางภาษา เป็นความงาม ความสละสลวยทางภาษา
ซึ่งเป็นหลักของบาลีไวยากรณ์กรณ์ทั่วไป เพื่อไม่ให้เป็นการตรัสคำซ้ำซาก
คำว่า "ธรรมทั้งปวง" ในประโยคนี้ จึงเป็นคำทั้ง 2 ประโยคนั้นมารวมกัน คือคำว่า
******สังขารทั้งหลายไม่เที่ยง***** + *****สังขารทั้งหลายเป็นทุกข์*****
ท่านที่เคยผ่านการเรียนการสอนบาลีไวยากรณ์มาแล้ว ต่างทราบกันดี...
มันเป๋นจะอิ้เน้อ
จะอู้หื้อ.....
จะขอสีซอเพลงนี้ให้ฟังเด้อ..
(1) "ธรรมทั้งปวง" (เฉยๆ) ก็คือทั้งหมดทั้งปวงที่พระพุทธตรัสถึงโดยทั่วๆไป
ไม่มียกเว้นรวมทั้งนิพพานด้วยนั่นแหละ เช่นตรัสว่า ธรรมทั้งปวงควรรู้ยิ่ง เป็นต้น....
(2) "ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา" ประโยคนี้เป็นการตรัสถึงโดยเฉพาะ โดยมีเงื่อนไข
หรือข้อยกเว้นอยู่แล้วในบริบทที่ทรงตรัส ถ้าพบคำว่า*****ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา*****ในที่ไหนๆ
จะต้องพบคำว่า "สังขารทั้งหลายไม่เที่ยง" + "สังขารทั้งหลายเป็นทุกข์" เสมอทุกที่
แล้วจึงตามด้วยคำว่า "ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา" ทุกครั้งที่ตรัสประโยคนี้.....
กรณีย์ที่ 1.
....ที่ต้องตรัสว่า "ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา" ทำไมไม่ตรัสว่าสังขารทั้งปวงเป็นอนัตตา
นั่นเพราะเป็นหลักการทางภาษา เป็นความงาม ความสละสลวยทางภาษา
ซึ่งเป็นหลักของบาลีไวยากรณ์กรณ์ทั่วไป เพื่อไม่ให้เป็นการตรัสคำซ้ำซาก
คำว่า "ธรรมทั้งปวง" ในประโยคนี้ จึงเป็นคำทั้ง 2 ประโยคนั้นมารวมกัน คือคำว่า
******สังขารทั้งหลายไม่เที่ยง***** + *****สังขารทั้งหลายเป็นทุกข์*****
ท่านที่เคยผ่านการเรียนการสอนบาลีไวยากรณ์มาแล้ว ต่างทราบกันดี...
มันเป๋นจะอิ้เน้อ
จะอู้หื้อ.....