เกริ่นนำ การศึกษาพุทธศาสนาควรปล่อยวางเรื่องไร้สาระ อิทธิฤทธิ์ นรก สวรรค์ลงก่อน
เพราะเรื่องงมงายพวกนี้เป็นอุปสรรคขวางทางปัญญา เมื่อปัญญาไม่เกิดการเข้าใจพุทธพจน์ก็ไม่มีทางเป็นไปได้
ธรรมะเป็นเรื่องวิทยาสตร์และปรัชญา ไม่ใช่ไสยศาสตร์ ทำดีขึ้นสวรรค์ ทำบาปตกนรก เทวดาอวยพร นางฟ้าอวยชัย เลอะเทอะ
เข้าใจตามนี้แล้วก็จะรู้ว่า
คำศัพท์ที่เป็นพุทธพจน์ เป็นคำง่ายๆถ้าเรารู้จักเอามาเปรียบเทียบกับสิ่งที่มีอยู่ของโลก
อย่าเอาพุทธพจน์ไปปั่นแต่งให้เป็นภาษาลิเก เพราะพุทธพจน์เป็นภาษาที่สามารถใช้หลักวิทยาศาสตร์และปรัชญา
มาอธิบายได้ทุกคำพุทธพจน์
ก่อนจะเริ่ม ก็ต้องยกเอาคำว่า ธรรมฐิติ มากล่าวเสียก่อนว่า ...ในโลกใบนี้ แม้จะไม่มีมนุษย์หรือสัตว์
ความเป็นธรรมชาติของโลกก็ยังคงมีอยู่ ธรรมชาติที่ว่า อาทิ ฝนตก แดดออก ภูเขาไฟระเบิด และเหตุการณ์ต่างๆ
เหล่านี้ล้วนเรียก ตามหลักปรัชญาว่า กฎเกณท์ทางธรรมชาติ ที่อยู่คู่กับโลกใบนี้
เรื่องแบบนี้พระโคดมพระพุทธเจ้าเข้าใจและรู้ซึ้งเป็นอย่างดี เมื่อรู้แล้วพระองค์จึงเอาความรู้เหล่านั้นมาสอน
ประเด็นคือในยุคโบราณพุทธกาลนั้น ยังไม่มีคำที่ใช้กับกระบวนการทางธรรมชาติเหล่านี้
เหตุนี้พระพุทธองค์จึงทรงบัญญัติคำต่างๆขึ้น เพื่อแยกแยะลักษณะของธรรมชาติไว้เป็นกิจจลักษณะ
คำว่า อิทัปปจยตา จึงถูกบัญญัติขึ้น เพื่อใช้เรียกกฎเกณ์ทางธรรมชาติของโลก
สรุปก็คือ อิทัปปจยตา หมายถึง กฎของธรรมชาติ
ปล. อย่าเอาคำว่า อิทัปปจยตา ไปใช้กับภาษาลิเกเป็นอันขาด
อิทัปปัจจยตา ปฏิจจสมุปบาท อะไรแว่?
เพราะเรื่องงมงายพวกนี้เป็นอุปสรรคขวางทางปัญญา เมื่อปัญญาไม่เกิดการเข้าใจพุทธพจน์ก็ไม่มีทางเป็นไปได้
ธรรมะเป็นเรื่องวิทยาสตร์และปรัชญา ไม่ใช่ไสยศาสตร์ ทำดีขึ้นสวรรค์ ทำบาปตกนรก เทวดาอวยพร นางฟ้าอวยชัย เลอะเทอะ
เข้าใจตามนี้แล้วก็จะรู้ว่า
คำศัพท์ที่เป็นพุทธพจน์ เป็นคำง่ายๆถ้าเรารู้จักเอามาเปรียบเทียบกับสิ่งที่มีอยู่ของโลก
อย่าเอาพุทธพจน์ไปปั่นแต่งให้เป็นภาษาลิเก เพราะพุทธพจน์เป็นภาษาที่สามารถใช้หลักวิทยาศาสตร์และปรัชญา
มาอธิบายได้ทุกคำพุทธพจน์
ก่อนจะเริ่ม ก็ต้องยกเอาคำว่า ธรรมฐิติ มากล่าวเสียก่อนว่า ...ในโลกใบนี้ แม้จะไม่มีมนุษย์หรือสัตว์
ความเป็นธรรมชาติของโลกก็ยังคงมีอยู่ ธรรมชาติที่ว่า อาทิ ฝนตก แดดออก ภูเขาไฟระเบิด และเหตุการณ์ต่างๆ
เหล่านี้ล้วนเรียก ตามหลักปรัชญาว่า กฎเกณท์ทางธรรมชาติ ที่อยู่คู่กับโลกใบนี้
เรื่องแบบนี้พระโคดมพระพุทธเจ้าเข้าใจและรู้ซึ้งเป็นอย่างดี เมื่อรู้แล้วพระองค์จึงเอาความรู้เหล่านั้นมาสอน
ประเด็นคือในยุคโบราณพุทธกาลนั้น ยังไม่มีคำที่ใช้กับกระบวนการทางธรรมชาติเหล่านี้
เหตุนี้พระพุทธองค์จึงทรงบัญญัติคำต่างๆขึ้น เพื่อแยกแยะลักษณะของธรรมชาติไว้เป็นกิจจลักษณะ
คำว่า อิทัปปจยตา จึงถูกบัญญัติขึ้น เพื่อใช้เรียกกฎเกณ์ทางธรรมชาติของโลก
สรุปก็คือ อิทัปปจยตา หมายถึง กฎของธรรมชาติ
ปล. อย่าเอาคำว่า อิทัปปจยตา ไปใช้กับภาษาลิเกเป็นอันขาด