ตัวอย่างเช่น Beijing (ปักกิ่ง) ต้องเขียนเป็น “เป่ย์จิง” ทั้งที่เวลาอ่านก็คล้ายเสียง “เป่ยจิง”
Guìfēi (กุ้ยเฟย : พระมเหสีขั้นเอก รองจักรพรรดินี) ก็เขียนเป็น “กุ้ยเฟย์”
เพราะหลักภาษาไทย การใส่ทัณฑฆาต เหมือนเราไม่ได้อ่านพยัญชนะหรือตัวสะกดตัวนั้นเลย แต่สระ -ei ก็ออกเสียงคล้าย เอย ๆ พอมีการันต์ปุ๊บ ก็กลายเป็นสระเอ เ ทันที ไม่รู้สึกแปลก ๆ หรือครับ
เมื่อเป็นเช่นนี้แล้ว ทำไมถึงไม่เปลี่ยนแปลงหลักการถอดเสียงกำกับละครับผม
สงสัยครับผม เวลาถอดเสียงพินอินภาษาจีนเป็นตัวอักษรไทย ทำไมตามหลักต้องใส่การันต์
Guìfēi (กุ้ยเฟย : พระมเหสีขั้นเอก รองจักรพรรดินี) ก็เขียนเป็น “กุ้ยเฟย์”
เพราะหลักภาษาไทย การใส่ทัณฑฆาต เหมือนเราไม่ได้อ่านพยัญชนะหรือตัวสะกดตัวนั้นเลย แต่สระ -ei ก็ออกเสียงคล้าย เอย ๆ พอมีการันต์ปุ๊บ ก็กลายเป็นสระเอ เ ทันที ไม่รู้สึกแปลก ๆ หรือครับ
เมื่อเป็นเช่นนี้แล้ว ทำไมถึงไม่เปลี่ยนแปลงหลักการถอดเสียงกำกับละครับผม