๔. อนิจจสูตรที่ ๒
..........
........
ภิกษุทั้งหลาย !
ขันธ์๕..เป็นสิ่งที่ไม่เที่ยง { ขันธ์๕ : รูป - เวทนา - สัญญา - สังขาร - วิญญาน }
สิ่งใด ไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์
สิ่งใด เป็นทุกข์ สิ่งนั้นเป็นอนัตตา
สิ่งใด เป็นอนัตตา สิ่งนั้น
นั่น ไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เป็นเรา ไม่ใช่เป็นตัวตนของเรา :
เธอทั้งหลาย พึงเห็นข้อนั้น ด้วยปัญญาโดยชอบตรงตามที่เป็นจริง อย่างนี้ ด้วยประการดังนี้.
ภิกษุทั้งหลาย !
เมื่อบุคคลเห็นข้อนั้น ด้วยปัญญาโดยชอบตรงตามที่เป็นจริงอยู่อย่างนี้
ปุพพันตานุทิฏฐิ (ความตามเห็นขันธ์ส่วนอดีต) ทั้งหลาย ย่อมไม่มี <---------ไม่คิดว่า " เราเคยมีแล้วหรือ หน่อ? "
เมื่อปุพพันตานุทิฏฐิทั้งหลายไม่มี
อปรันตานุทิฏฐิทั้งหลาย(ความตามเห็นขันธ์ส่วนอนาคต) ย่อมไม่มี <---------ไม่คิดว่า " เราจะมีอีกหรือ หน่อ? "
เมื่ออปรันตานุทิฏฐิทั้งหลายไม่มี ความยึดมั่นลูบคลําอย่างแรงกล้า ย่อมไม่มี
เมื่อความยึดมั่นลูบคลําอย่างแรงกล้าไม่มี
จิตย่อมจางคลายกําหนัด
ในรูป ในเวทนา ในสัญญา ในสังขารทั้งหลาย ในวิญญาณ
ย่อมหลุดพ้นจากอาสวะทั้งหลาย เพราะไม่มีความยึดมั่นถือมั่น
- เพราะหลุดพ้นแล้ว จึงดํารงอยู่
- เพราะดํารงอยู่ จึงยินดีร่าเริงด้วยดี
- เพราะยินดีร่าเริงด้วยดี
- จึงไม่หวาดสะดุ้ง เมื่อไม่หวาดสะดุ้ง
- ย่อมปรินิพพานเฉพาะตนนั่นเทียว
เธอนั้นย่อมรู้ชัดว่า
“ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์ได้อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทํา ได้ทําสําเร็จแล้ว
กิจอื่นที่จะต้องทําเพื่อความเป็นอย่างนี้ มิได้มีอีก” ดังนี้.
(ภาษาไทย) ขนฺธ. สํ. ๑๗/๔๕/๙๓. { สำนวนท่านพระพุทธทาส..นะ }
ขั้นตอนการบรรลุธรรม...ที่พระศาสดาท่านแสดง...ผมนำมาประกาศให้ศึกษา...ครับ
๔. อนิจจสูตรที่ ๒
..........
........
ภิกษุทั้งหลาย ! ขันธ์๕..เป็นสิ่งที่ไม่เที่ยง { ขันธ์๕ : รูป - เวทนา - สัญญา - สังขาร - วิญญาน }
สิ่งใด ไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์
สิ่งใด เป็นทุกข์ สิ่งนั้นเป็นอนัตตา
สิ่งใด เป็นอนัตตา สิ่งนั้น
นั่น ไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เป็นเรา ไม่ใช่เป็นตัวตนของเรา :
เธอทั้งหลาย พึงเห็นข้อนั้น ด้วยปัญญาโดยชอบตรงตามที่เป็นจริง อย่างนี้ ด้วยประการดังนี้.
ภิกษุทั้งหลาย !
เมื่อบุคคลเห็นข้อนั้น ด้วยปัญญาโดยชอบตรงตามที่เป็นจริงอยู่อย่างนี้
ปุพพันตานุทิฏฐิ (ความตามเห็นขันธ์ส่วนอดีต) ทั้งหลาย ย่อมไม่มี <---------ไม่คิดว่า " เราเคยมีแล้วหรือ หน่อ? "
เมื่อปุพพันตานุทิฏฐิทั้งหลายไม่มี
อปรันตานุทิฏฐิทั้งหลาย(ความตามเห็นขันธ์ส่วนอนาคต) ย่อมไม่มี <---------ไม่คิดว่า " เราจะมีอีกหรือ หน่อ? "
เมื่ออปรันตานุทิฏฐิทั้งหลายไม่มี ความยึดมั่นลูบคลําอย่างแรงกล้า ย่อมไม่มี
เมื่อความยึดมั่นลูบคลําอย่างแรงกล้าไม่มี จิตย่อมจางคลายกําหนัด
ในรูป ในเวทนา ในสัญญา ในสังขารทั้งหลาย ในวิญญาณ
ย่อมหลุดพ้นจากอาสวะทั้งหลาย เพราะไม่มีความยึดมั่นถือมั่น
- เพราะหลุดพ้นแล้ว จึงดํารงอยู่
- เพราะดํารงอยู่ จึงยินดีร่าเริงด้วยดี
- เพราะยินดีร่าเริงด้วยดี
- จึงไม่หวาดสะดุ้ง เมื่อไม่หวาดสะดุ้ง
- ย่อมปรินิพพานเฉพาะตนนั่นเทียว
เธอนั้นย่อมรู้ชัดว่า
“ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์ได้อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทํา ได้ทําสําเร็จแล้ว
กิจอื่นที่จะต้องทําเพื่อความเป็นอย่างนี้ มิได้มีอีก” ดังนี้.
(ภาษาไทย) ขนฺธ. สํ. ๑๗/๔๕/๙๓. { สำนวนท่านพระพุทธทาส..นะ }