ขอบอกก่อนนะครับว่าผมไม่ได้จบแพทย์หรือวิทยาศาสตร์สุขภาพนะครับ ดังนั้นที่ผมถามเพราะไม่รู้จริงๆ กรุณาอย่าตอบแบบ "ถ้ามีก็เห็นแล้วซิ" หรือ "ถ้าทำได้ก็ทำไปนานแล้ว" อะไรแบบนี้เลยนะครับ ผมไม่รู้ และอยากทราบสาเหตุจริงๆว่าเพราะอะไรถึงไม่ลองทำวิจัยการเพิ่มความสูงบริเวณอวัยวะส่วนนี้ มันมีความเสี่ยงอย่างไร อันนี้เป็นความเข้าใจของผมนะครับ
1. ข้อต่อส่วนต่างๆของร่างกายมีปริมาณไล่เลี่ยกับปริมาณกระดูกเลย ทำไมไม่ลองทำศัลยกรรมส่วนนี้ เช่นการใช้มีดหมอ หรือเลเซอร์ตัดให้ขาดแล้วเอาพวกเซลล์สังเคราะห์(แบบที่เคยเห็นในสารคดีที่เค้าจะเอาสารสังเคราะห์มาแช่กับเซลล์เลือดหรือน้ำเหลืองของร่างกายเรา ก่อนจะเอาไปเสริมในกล้ามเนื้อส่วนที่เสียหายเพื่อกระตุ้นให้สร้างกล้ามเนื้อใหม่)มาสมานตรงจุดที่ตัดเพื่อเพิ่มความสูงครับ ข้อต่อเท้า ข้อต่อหัวเข่า ข้อต่อต้นขา ข้อต่อสันหลัง รวมๆกันก็หลายสิบชิ้น ถ้าเพิ่มชิ้นละซัก 1 - 2 เซนติเมตรก็ได้เกือบๆ 20 เซนติเมตรเลยนะครับ
2. การซ่อมแทรมของโปรตีนและคอลาเจนที่เป็นองค์ประกอบสำคัญของหมอนรองกระดูก และกระดูกอ่อน กับการซ้อมแทรมแคลเซียมของกระดูก อันไหนมีความเสี่ยงที่จะไม่หาย หรือคืนรูปยากกว่ากันครับ
3. หลังจากเพิ่มโครงสร้างแล้ว สามารถทำกายภาพเพื่อให้เส้นเอ็น เส้นประสาทยืดตามได้มั้ยครับ
ทำไมไม่เคยมีใครทำวิจัยการเพิ่มความสูงบริเวณข้อต่อเลยหละครับ
1. ข้อต่อส่วนต่างๆของร่างกายมีปริมาณไล่เลี่ยกับปริมาณกระดูกเลย ทำไมไม่ลองทำศัลยกรรมส่วนนี้ เช่นการใช้มีดหมอ หรือเลเซอร์ตัดให้ขาดแล้วเอาพวกเซลล์สังเคราะห์(แบบที่เคยเห็นในสารคดีที่เค้าจะเอาสารสังเคราะห์มาแช่กับเซลล์เลือดหรือน้ำเหลืองของร่างกายเรา ก่อนจะเอาไปเสริมในกล้ามเนื้อส่วนที่เสียหายเพื่อกระตุ้นให้สร้างกล้ามเนื้อใหม่)มาสมานตรงจุดที่ตัดเพื่อเพิ่มความสูงครับ ข้อต่อเท้า ข้อต่อหัวเข่า ข้อต่อต้นขา ข้อต่อสันหลัง รวมๆกันก็หลายสิบชิ้น ถ้าเพิ่มชิ้นละซัก 1 - 2 เซนติเมตรก็ได้เกือบๆ 20 เซนติเมตรเลยนะครับ
2. การซ่อมแทรมของโปรตีนและคอลาเจนที่เป็นองค์ประกอบสำคัญของหมอนรองกระดูก และกระดูกอ่อน กับการซ้อมแทรมแคลเซียมของกระดูก อันไหนมีความเสี่ยงที่จะไม่หาย หรือคืนรูปยากกว่ากันครับ
3. หลังจากเพิ่มโครงสร้างแล้ว สามารถทำกายภาพเพื่อให้เส้นเอ็น เส้นประสาทยืดตามได้มั้ยครับ