ว่าด้วยความสุขอันเกิดแต่สัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติ

อานนท์ !  ส่วนข้อนี้  เป็นฐานะที่จะมีได้คือ  ข้อที่
พวกปริพาชกทั้งหลาย ผู้ถือลัทธิอื่นจะพึงกล่าว
อย่างนี้ว่า  “พระสมณะโคดม  ได้กล่าวถึงสัญญา
เวทยิตนิโรธ(การดับสัญญาและเวทนา),  แล้วจึง
บัญญัติซึ่งสัญญาเวทยิตนิโรธนั้น  ในฐานะเป็น
ความสุข.  มันจะเป็นความสุขชนิดไหนหนอ ?  

มันจะเป็นความสุขไปได้อย่างไรหนอ ?” 
 อานนท์ !  พวกปริพาชกผู้ถือลัทธิอื่น  ซึ่งมีปกติ
กล่าวอย่างนี้,  เธอทั้งหลายจะพึงกล่าวแก้อย่าง
นี้ว่า “ผู้มีอายุ !  พระผู้มีพระภาค  ไม่ได้หมายถึง
สุขเวทนา  แล้วบัญญัติในฐานะเป็นตัวความสุข.  
ผู้มีอายุ !  แต่ว่า  ความสุข  อันบุคคลจะพึง
แสวงหาได้ในธรรมใด ;  พระตถาคตย่อม
บัญญัติซึ่งธรรมนั้น  ในฐานะเป็นความสุข”  ดังนี้แล. 
 
 - สฬา. สํ. ๑๘/๒๗๘-๒๘๒/๔๑๓-๔๒๔. 

จงมีธรรมเป็นเกาะ. มีธรรมเป็นที่พึ่ง 
เช่นรู้ธรรมใด ก็ได้สิ่งนั้น ในฐานะเป็นความสุขเช่นนั้น เป็นต้น
เว้นจากธรรมอันเป็นที่ดับซึ่งไม่มีเหตุให้อาศัยปัจจัยเกิดชึ้น
ตนที่หมดอุปกิเลส ตัณหาและ อาสวกิเลส ไม่มีเหลือ
อีกนั้นแหละ จิตจึงหลุดพ้น
สภาพของนิพพาน
ยิ่งไปกว่าความสุข

โลกิยะ(ความสุขชั่วคราว) < ,!= โลกุตระ(ยิ่งไปกว่าความสุข ความสงบอันประณีต.
 ||,ไม่มีความสุขอื่นยิ่งกว่า
 ==ไม่มีความทุกข์ให้เห็น อีกต่อไป).นั้นแหละ
เหมือนดั่งว่า จิตหนึ่งยืมเขามาใช้ตามอัตภาพสภาพความเป็นอยู่เช่นนั้น...

วิญญาณคือเหตุให้ทุกคนเป็นขึ้นและมีชีวิต
ตั้งอยู่เพื่อการบัญญัติ ซึ่งความเป็นอย่างนั้น
(ของนามรูปกับวิญญาณ นั่นเอง).

`พระองค์ผู้ทรงมีพระวิญญาณทั้งเจ็ด
และทรงมีดาราเจ็ดดวงนั้น ได้ตรัสดังนี้ว่า 
เรารู้จักแนวการกระทำของเจ้า เจ้าได้ชื่อว่ามีชีวิตอยู่ แต่ว่าเจ้าได้ตายเสียแล้ว 
(-Bible วิวรณ์ 3:1-6)

<อัตราการตายกับอัตราการเกิดเท่ากันหรือเปล่า>
แสดงความคิดเห็น
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่