-- ความเห็นต่อการเบื่อหน่ายร่างกายเกี่ยวข้องกับการสำรวมอินทรีย์ ได้
ถ้า ปล่อยวาง/เบื่อหน่าย ในร่างกายได้แล้ว จะมีการสำรวมอินทรีย์ คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ตามมา
เพราะว่าอายตนะทั้ง6 เหล่านี้ล้วนตั้งอยู่บนกาย นี้นั่นเอง เบื่อหน่ายในกายชื่อว่าสำรวมอินทรีย์
ภิกษุ ท. ! ภิกษุใดได้อบรมทำให้มากในกายคตาสติแล้ว
ตา ก็จะไม่ฉุดเอาภิกษุนั้นไปหารูปที่น่าพอใจ
รูปที่ไม่น่าพอใจ ก็ไม่เป็นสิ่งที่เธอรู้สึกอึดอัดขยะแขยง
หู ก็จะไม่ฉุดเอาภิกษุนั้นไปหาเสียงที่น่าฟัง
เสียงที่ไม่น่าฟัง ก็ไม่เป็นสิ่งที่เธอรู้สึกอึดอัดขยะแขยง
จมูก ก็จะไม่ฉุดเอาภิกษุนั้นไปหากลิ่นที่น่าสูดดม
กลิ่นที่ไม่น่าสูดดม ก็ไม่เป็นสิ่งที่เธอรู้สึกอึดอัดขยะแขยง
ลิ้น ก็จะไม่ฉุดเอาภิกษุนั้นไปหารสที่ชอบใจ
รสที่ไม่ชอบใจ ก็ไม่เป็นสิ่งที่เธอรู้สึกอึดอัดขยะแขยง
กาย ก็จะไม่ฉุดเอาภิกษุนั้นไปหาสัมผัสที่ยั่วยวนใจ
สัมผัสที่ไม่ยั่วยวนใจก็ไม่เป็นสิ่งที่เธอรู้สึกอึดอัดขยะแขยง
และใจ ก็จะไม่ฉุดเอาภิกษุนั้นไปหาธรรมารมณ์ที่ถูกใจ
ธรรมารมณ์ที่ไม่ถูกใจก็ไม่เป็นสิ่งที่เธอรู้สึกอึดอัดขยะแขยง
https://ppantip.com/topic/38169629
____________________________________________________________________________________________________
ทิ้งเสียนั่นแหละ กลับจะเป็นประโยชน์
ภิกษุ ท. ! สิ่งใด ไม่ใช่ของเธอ, สิ่งนั้น เธอจงละมันเสีย;
สิ่นนั้น อันเธอละเสียแล้ว จักเป็นไปเพื่อประโยชน์และความสุขแก่เธอ.
https://ppantip.com/topic/38135211/comment8
_____________________________________________________________________________________________________
ภิกษุทั้งหลาย ! เมื่อภิกษุสำรวมระวัง ซึ่งอินทรีย์คือตาอยู่
จิตย่อมไม่เกลือกกลั้ว ในรูปทั้งหลายอันเป็นวิสัยแห่งการรู้สึกด้วยตา;
เมื่อภิกษุนั้น ไม่มีจิตเกลือกกลั้วแล้ว ปราโมทย์ ย่อมเกิด;
เมื่อ ปราโมทย์ แล้ว ปีติ ย่อมเกิด;
เมื่อใจมี ปีติ ปัสสัทธิ ย่อมมี;
เมื่อมี ปัสสัทธิ ภิกษุนั้น ย่อมอยู่เป็นสุข;
เมื่อ มีสุข จิตย่อมตั้งมั่น;
เมื่อ จิตตั้งมั่น แล้ว ธรรมทั้งหลายย่อมปรากฏ;
เพราะธรรมทั้งหลายย่อมปรากฏ
ภิกษุนั้นย่อมถึงซึ่งการถูกนับว่าเป็นผู้มีปกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท โดยแท้.
https://ppantip.com/topic/38124392
______________________________________________________________________________________________________
“สุขเวทนานี้ เกิดขึ้นแล้วแก่เรา
แต่สุขเวทนานี้ อาศัยเหตุปัจจัยจึงเกิดขึ้นได้ ไม่อาศัยเหตุปัจจัยแล้วหาเกิดขึ้นได้ไม่.
อาศัยเหตุปัจจัยอะไรเล่า ? อาศัยเหตุปัจจัยคือ กายนี้นั่นเอง
ก็กายนี้ ไม่เที่ยง มีปัจจัยปรุงแต่ง อาศัยเหตุปัจจัยเกิดขึ้น
สุขเวทนาที่เกิดขึ้นเพราะอาศัยกาย ซึ่งไม่เที่ยง มีปัจจัยปรุงแต่ง อาศัยเหตุปัจจัยเกิดขึ้น
ดังนี้แล้ว จักเป็นสุขเวทนาที่เที่ยงมาแต่ไหน”
https://ppantip.com/topic/38108112
________________________________________________________________________________________________________
ก า ย ค ต า ส ติ
1. อานาปานสติสมาธิ
2. การรู้อิริยาบถ เดิน ยืน นั่ง นอน
3. การมีสัมปชัญญะความรู้สึกตัวทั่วพร้อม
4. การพิจารณากายในเรื่องของความไม่งาม ( อสุภะสัญญา )
5. การพิจารณากายโดยความเป็นธาตุมีอยู่ในกายนี้ ( ดิน น้ำ ไฟ ลม )
https://ppantip.com/topic/38028610
________________________________________________________________________________________________________
หลักปฏิบัติที่ถูกต้อง เพื่อความพ้นทุกข์
ทำให้ได้ชื่อว่าเป็นผู้ปฎิบัติไม่ผิด และ
ชื่อว่าปรารภปัญญาเพื่อความสิ้นอาสวะทั้งหลาย
ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เห็นรูปด้วยตาแล้ว ไม่ถือเอาโดยนิมิต ไม่ถือเอาโดยอนุพยัญชนะ
ย่อมปฏิบัติเพื่อสำรวมจักขุอินทรีย์ ที่เมื่อไม่สำรวมแล้วจะพึงเป็นเหตุให้อกุศลธรรมอันลามก คือ อภิชฌาและโทมนัส ครอบงำได้
ย่อมรักษาจักขุนทรีย์ ย่อมถึงความสำรวมในจักขุนทรีย์
ฟังเสียงด้วยหู แล้ว ไม่ถือเอาโดยนิมิต ไม่ถือเอาโดยอนุพยัญชนะ
ย่อมปฏิบัติเพื่อสำรวมโสตอินทรีย์ ที่เมื่อไม่สำรวมแล้วจะพึงเป็นเหตุให้อกุศลธรรมอันลามก คือ อภิชฌาและโทมนัส ครอบงำได้
ย่อมรักษาโสตอินทรีย์ ย่อมถึงความสำรวมในโสตอินทรีย์
ดมกลิ่นด้วยจมูก แล้ว ไม่ถือเอาโดยนิมิต ไม่ถือเอาโดยอนุพยัญชนะ
ย่อมปฏิบัติเพื่อสำรวมฆานอินทรีย์ ที่เมื่อไม่สำรวมแล้วจะพึงเป็นเหตุให้อกุศลธรรมอันลามก คือ อภิชฌาและโทมนัส ครอบงำได้
ย่อมรักษาฆานอินทรีย์ ย่อมถึงความสำรวมในฆานอินทรีย์
ลิ้มรสด้วยลิ้น แล้ว ไม่ถือเอาโดยนิมิต ไม่ถือเอาโดยอนุพยัญชนะ
ย่อมปฏิบัติเพื่อสำรวมชิวหาอินทรีย์ ที่เมื่อไม่สำรวมแล้วจะพึงเป็นเหตุให้อกุศลธรรมอันลามก คือ อภิชฌาและโทมนัส ครอบงำได้
ย่อมรักษาชิวหาอินทรีย์ ย่อมถึงความสำรวมในชิวหาอินทรีย์
ถูกต้องโผฏฐัพพะด้วยกาย แล้ว ไม่ถือเอาโดยนิมิต ไม่ถือเอาโดยอนุพยัญชนะ
ย่อมปฏิบัติเพื่อสำรวมกายอินทรีย์ ที่เมื่อไม่สำรวมแล้วจะพึงเป็นเหตุให้อกุศลธรรมอันลามก คือ อภิชฌาและโทมนัส ครอบงำได้
ย่อมรักษากายอินทรีย์ ย่อมถึงความสำรวมในกายอินทรีย์
รู้แจ้งธรรมารมณ์ด้วยใจ แล้ว ไม่ถือเอาโดยนิมิต ไม่ถือเอาโดยอนุพยัญชนะ
ย่อมปฏิบัติเพื่อสำรวมมโนอินทรีย์ ที่เมื่อไม่สำรวมแล้วจะพึงเป็นเหตุให้อกุศลธรรมอันลามก คือ อภิชฌาและโทมนัส ครอบงำได้
ย่อมรักษามโนอินทรีย์ ย่อมถึงความสำรวมในมโนอินทรีย์
https://ppantip.com/topic/38002291
-- ความเห็นต่อการเบื่อหน่ายร่างกายเกี่ยวข้องกับการสำรวมอินทรีย์ ได้
เพราะว่าอายตนะทั้ง6 เหล่านี้ล้วนตั้งอยู่บนกาย นี้นั่นเอง เบื่อหน่ายในกายชื่อว่าสำรวมอินทรีย์
ภิกษุ ท. ! ภิกษุใดได้อบรมทำให้มากในกายคตาสติแล้ว
ตา ก็จะไม่ฉุดเอาภิกษุนั้นไปหารูปที่น่าพอใจ
รูปที่ไม่น่าพอใจ ก็ไม่เป็นสิ่งที่เธอรู้สึกอึดอัดขยะแขยง
หู ก็จะไม่ฉุดเอาภิกษุนั้นไปหาเสียงที่น่าฟัง
เสียงที่ไม่น่าฟัง ก็ไม่เป็นสิ่งที่เธอรู้สึกอึดอัดขยะแขยง
จมูก ก็จะไม่ฉุดเอาภิกษุนั้นไปหากลิ่นที่น่าสูดดม
กลิ่นที่ไม่น่าสูดดม ก็ไม่เป็นสิ่งที่เธอรู้สึกอึดอัดขยะแขยง
ลิ้น ก็จะไม่ฉุดเอาภิกษุนั้นไปหารสที่ชอบใจ
รสที่ไม่ชอบใจ ก็ไม่เป็นสิ่งที่เธอรู้สึกอึดอัดขยะแขยง
กาย ก็จะไม่ฉุดเอาภิกษุนั้นไปหาสัมผัสที่ยั่วยวนใจ
สัมผัสที่ไม่ยั่วยวนใจก็ไม่เป็นสิ่งที่เธอรู้สึกอึดอัดขยะแขยง
และใจ ก็จะไม่ฉุดเอาภิกษุนั้นไปหาธรรมารมณ์ที่ถูกใจ
ธรรมารมณ์ที่ไม่ถูกใจก็ไม่เป็นสิ่งที่เธอรู้สึกอึดอัดขยะแขยง
https://ppantip.com/topic/38169629
____________________________________________________________________________________________________
ทิ้งเสียนั่นแหละ กลับจะเป็นประโยชน์
ภิกษุ ท. ! สิ่งใด ไม่ใช่ของเธอ, สิ่งนั้น เธอจงละมันเสีย;
สิ่นนั้น อันเธอละเสียแล้ว จักเป็นไปเพื่อประโยชน์และความสุขแก่เธอ.
https://ppantip.com/topic/38135211/comment8
_____________________________________________________________________________________________________
ภิกษุทั้งหลาย ! เมื่อภิกษุสำรวมระวัง ซึ่งอินทรีย์คือตาอยู่
จิตย่อมไม่เกลือกกลั้ว ในรูปทั้งหลายอันเป็นวิสัยแห่งการรู้สึกด้วยตา;
เมื่อภิกษุนั้น ไม่มีจิตเกลือกกลั้วแล้ว ปราโมทย์ ย่อมเกิด;
เมื่อ ปราโมทย์ แล้ว ปีติ ย่อมเกิด;
เมื่อใจมี ปีติ ปัสสัทธิ ย่อมมี;
เมื่อมี ปัสสัทธิ ภิกษุนั้น ย่อมอยู่เป็นสุข;
เมื่อ มีสุข จิตย่อมตั้งมั่น;
เมื่อ จิตตั้งมั่น แล้ว ธรรมทั้งหลายย่อมปรากฏ;
เพราะธรรมทั้งหลายย่อมปรากฏ
ภิกษุนั้นย่อมถึงซึ่งการถูกนับว่าเป็นผู้มีปกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท โดยแท้.
https://ppantip.com/topic/38124392
______________________________________________________________________________________________________
“สุขเวทนานี้ เกิดขึ้นแล้วแก่เรา
แต่สุขเวทนานี้ อาศัยเหตุปัจจัยจึงเกิดขึ้นได้ ไม่อาศัยเหตุปัจจัยแล้วหาเกิดขึ้นได้ไม่.
อาศัยเหตุปัจจัยอะไรเล่า ? อาศัยเหตุปัจจัยคือ กายนี้นั่นเอง
ก็กายนี้ ไม่เที่ยง มีปัจจัยปรุงแต่ง อาศัยเหตุปัจจัยเกิดขึ้น
สุขเวทนาที่เกิดขึ้นเพราะอาศัยกาย ซึ่งไม่เที่ยง มีปัจจัยปรุงแต่ง อาศัยเหตุปัจจัยเกิดขึ้น
ดังนี้แล้ว จักเป็นสุขเวทนาที่เที่ยงมาแต่ไหน”
https://ppantip.com/topic/38108112
________________________________________________________________________________________________________
ก า ย ค ต า ส ติ
1. อานาปานสติสมาธิ
2. การรู้อิริยาบถ เดิน ยืน นั่ง นอน
3. การมีสัมปชัญญะความรู้สึกตัวทั่วพร้อม
4. การพิจารณากายในเรื่องของความไม่งาม ( อสุภะสัญญา )
5. การพิจารณากายโดยความเป็นธาตุมีอยู่ในกายนี้ ( ดิน น้ำ ไฟ ลม )
https://ppantip.com/topic/38028610
________________________________________________________________________________________________________
หลักปฏิบัติที่ถูกต้อง เพื่อความพ้นทุกข์
ทำให้ได้ชื่อว่าเป็นผู้ปฎิบัติไม่ผิด และ
ชื่อว่าปรารภปัญญาเพื่อความสิ้นอาสวะทั้งหลาย
ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เห็นรูปด้วยตาแล้ว ไม่ถือเอาโดยนิมิต ไม่ถือเอาโดยอนุพยัญชนะ
ย่อมปฏิบัติเพื่อสำรวมจักขุอินทรีย์ ที่เมื่อไม่สำรวมแล้วจะพึงเป็นเหตุให้อกุศลธรรมอันลามก คือ อภิชฌาและโทมนัส ครอบงำได้
ย่อมรักษาจักขุนทรีย์ ย่อมถึงความสำรวมในจักขุนทรีย์
ฟังเสียงด้วยหู แล้ว ไม่ถือเอาโดยนิมิต ไม่ถือเอาโดยอนุพยัญชนะ
ย่อมปฏิบัติเพื่อสำรวมโสตอินทรีย์ ที่เมื่อไม่สำรวมแล้วจะพึงเป็นเหตุให้อกุศลธรรมอันลามก คือ อภิชฌาและโทมนัส ครอบงำได้
ย่อมรักษาโสตอินทรีย์ ย่อมถึงความสำรวมในโสตอินทรีย์
ดมกลิ่นด้วยจมูก แล้ว ไม่ถือเอาโดยนิมิต ไม่ถือเอาโดยอนุพยัญชนะ
ย่อมปฏิบัติเพื่อสำรวมฆานอินทรีย์ ที่เมื่อไม่สำรวมแล้วจะพึงเป็นเหตุให้อกุศลธรรมอันลามก คือ อภิชฌาและโทมนัส ครอบงำได้
ย่อมรักษาฆานอินทรีย์ ย่อมถึงความสำรวมในฆานอินทรีย์
ลิ้มรสด้วยลิ้น แล้ว ไม่ถือเอาโดยนิมิต ไม่ถือเอาโดยอนุพยัญชนะ
ย่อมปฏิบัติเพื่อสำรวมชิวหาอินทรีย์ ที่เมื่อไม่สำรวมแล้วจะพึงเป็นเหตุให้อกุศลธรรมอันลามก คือ อภิชฌาและโทมนัส ครอบงำได้
ย่อมรักษาชิวหาอินทรีย์ ย่อมถึงความสำรวมในชิวหาอินทรีย์
ถูกต้องโผฏฐัพพะด้วยกาย แล้ว ไม่ถือเอาโดยนิมิต ไม่ถือเอาโดยอนุพยัญชนะ
ย่อมปฏิบัติเพื่อสำรวมกายอินทรีย์ ที่เมื่อไม่สำรวมแล้วจะพึงเป็นเหตุให้อกุศลธรรมอันลามก คือ อภิชฌาและโทมนัส ครอบงำได้
ย่อมรักษากายอินทรีย์ ย่อมถึงความสำรวมในกายอินทรีย์
รู้แจ้งธรรมารมณ์ด้วยใจ แล้ว ไม่ถือเอาโดยนิมิต ไม่ถือเอาโดยอนุพยัญชนะ
ย่อมปฏิบัติเพื่อสำรวมมโนอินทรีย์ ที่เมื่อไม่สำรวมแล้วจะพึงเป็นเหตุให้อกุศลธรรมอันลามก คือ อภิชฌาและโทมนัส ครอบงำได้
ย่อมรักษามโนอินทรีย์ ย่อมถึงความสำรวมในมโนอินทรีย์
https://ppantip.com/topic/38002291