รูปราคะ พิจารณา-รูป- ที่อุปจารสมาธิว่า รูปทั้งภายในภายนอก บุคคล สัตว์ สิ่งของ ว่าเป็นทุกข์ ไม่เที่ยง ไม่ใช่ตัวตน ไม่ใช่เรา ของเรา
อรูปราคะ พิจารณา- เวทนา- ที่อุปจารสมาธิอารมณ์ความรู้สึกพึงพอใจ,ไม่พอใจที่เกิดจากความมี ความเป็น ว่าเป็นทุกข์ ไม่เที่ยง ไม่ใช่ตัวตน ไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา
มานะ พิจารณา -สัญญา- ที่อุปจารสมาธิว่ามนุษย์ สัตว์ ให้เสมอกันว่า เกิด แก่ เจ็บ เป็นตายเหมือนกัน ไม่มีใครเหนือใคร คนสวย คนขี้เหร่ก็ตายเหมือนกัน คนรวยก็หิวเป็นเหมือนคนจน ฯลฯ จะละอัสสมิมานะได้
อุทธัจจะ ทำให้-สังขาร-เข้าไปสงบระงับขั้นอัปปนา จะเกิดแสงสว่างทำลายสังโยชน์ให้สิ้นไป
อวิชชา พิจารณา-วิญญญาน-การรับรู้ลมหายใจเข้าออกที่อุปจารสมาธิว่า เมื่อมีลมหายใจ(รูป) ก็มีการรู้สึกถึงลมหายใจเข้าออกได้(นาม) และวิญญานวิญญานคือผู้ที่รับรู้
ถ้าไม่มีวิญญานจะไม่รับรู้ไม่ได้เลย มีวิญญานย่อมมีนามรูป มีนามรูปย่อมมีวิญญาน ทั้งสองเกิดคู่กันเหมือนไม้อ้อยืนพิงขนานกัน เพียงสักว่าระลึก เพียงสักว่ารู้ทำความเข้าใจจะละอวิชชาสังโยชน์ได้
ขันธ์ 5 อารมณ์เพื่อละสังโยชน์เบื้องบน
อรูปราคะ พิจารณา- เวทนา- ที่อุปจารสมาธิอารมณ์ความรู้สึกพึงพอใจ,ไม่พอใจที่เกิดจากความมี ความเป็น ว่าเป็นทุกข์ ไม่เที่ยง ไม่ใช่ตัวตน ไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา
มานะ พิจารณา -สัญญา- ที่อุปจารสมาธิว่ามนุษย์ สัตว์ ให้เสมอกันว่า เกิด แก่ เจ็บ เป็นตายเหมือนกัน ไม่มีใครเหนือใคร คนสวย คนขี้เหร่ก็ตายเหมือนกัน คนรวยก็หิวเป็นเหมือนคนจน ฯลฯ จะละอัสสมิมานะได้
อุทธัจจะ ทำให้-สังขาร-เข้าไปสงบระงับขั้นอัปปนา จะเกิดแสงสว่างทำลายสังโยชน์ให้สิ้นไป
อวิชชา พิจารณา-วิญญญาน-การรับรู้ลมหายใจเข้าออกที่อุปจารสมาธิว่า เมื่อมีลมหายใจ(รูป) ก็มีการรู้สึกถึงลมหายใจเข้าออกได้(นาม) และวิญญานวิญญานคือผู้ที่รับรู้
ถ้าไม่มีวิญญานจะไม่รับรู้ไม่ได้เลย มีวิญญานย่อมมีนามรูป มีนามรูปย่อมมีวิญญาน ทั้งสองเกิดคู่กันเหมือนไม้อ้อยืนพิงขนานกัน เพียงสักว่าระลึก เพียงสักว่ารู้ทำความเข้าใจจะละอวิชชาสังโยชน์ได้