เคยสงสัยไม้ว่า สังโยชน์ 10 นี่เป็นแผนที่การเดินสำหรับอริยะบุคคลประเภทไหน
ตอบเองเลย คือ ของพระอรหันต์แบบสุขวิปัสสโก ซึง อริยบุคคลประเภทอื่นใช้เดินด้วยก็จะติกขัดตั้ง
แต่สักกายทิฏฐิแล้ว ตัวสักกายะทิฏนี้ สุขวิปัสสโกจะละได้เกือบหมด ไม่ว่าจะเป็นรูป เวทนา สังขาร วิญญาน
โสดาบันแบบสีขวิปัสสโกส่วนใหญ่จึงเป็นแบบเอกพีชีหมด
ในขณะอริยะบุคคลแบบเจโตวิมุติจะสักกายทิฏฐิละสัหกายะทิฏฐิได้แค่กายเท่านั้น เพราะฉะนั้น จึงทำใฟ้สับสนพอสมควร ว่าสักกายทิฏฐินี้
ต้องละได้หมดหรือไม่
ทิ้งแผนที่สังโยชน์ 10 ไปก่อน แล้วมาดูแผนที่ตามแบบที่ผมลองสังเคราะห์ขึ้น
อวิชชาสร้างจิตมาจากขันธ์ ๕
คือ ฌาน 1 สร้างจากรูป
ฌาน 2 สร้างจากเวทนา
ฌาน 3 สร้างจากสัญญา
ฌาน 4 สร้างจากสังขาร
ฌาน 5 สร้างจากวิญญาน
คั่นดัวยภวตัณหา ข้างบนคือที่อยู่ของโอรัมภาคิยสังโยชน์
จากนั้นก็เป็น อุทถัมภาคิยสังโยชน์
รูปราคะ กิเลสตัวนี้สร้างมาจาก รูป.
อรูปราคะ สร้างจากเวทนา
มานะ (ความสำคัญ หมายมั่นว่าดีกว่า เลวกว่า ) สร้างจากสัญญา
อุทธัจจะ สร้างจากสังขาร
อวิชชา สร้างจากวิญญาน ( คือ ความไม่รู้ในวิญญาน)
ฯลฯ
การละก็ตามที่พระพุทธเจ้าได้ตรัสไว้ คือ ละกาม ละอกุศล เจริญกุศลด้านมรรคภาวนา คือ อภิญญาเทสิตธรรม ๓๗ ประการ จนเกิด จักขุ ญาน ปัญญา แสงสว่าง และวิชชาขึ้น
ฌานที่ 1 เพิกถอนด้วย ละรูปวิตก+ตัณหา ด้วย จักขุ ด้วยวิธีการกำหนดรู้ทุกข์ และเหตุให้เกิดทุกข์ เมื่อจิตมีกำลังก็จะสลัดตัณหาทิ้งได้
ฌานที่ 2 เพิกถอนด้วย ญาน จากวิปัสสนา พิจารณาเวทนาลงไตรลักษณ์
ฌานที่ 3 เพิกถอนด้วย ปัญญา ความรอบรู้ในสังขาร ใช้อสุภะตัดขาดราคะอย่างหยาบที่อาศัยอยู่ทีนี้ได้ให้หมดไปได้
ฌานที่ 4 ภวังคจิตนี้เป็นที่อยู่ของ ราคะ ที่เป็นความรู้สึกเพียว ๆ ละได้ด้วย แสงสว่สง ที่เกิดจากเจโตวิมุติแบบเพียว ๆ เมื่อสมาธิบริบูรณ์เป็นอัปปนาก็จะบรรลุไปเอง เพราะการเข้าไปสงบระงับของสังขาร
ฌานที่ 5 ภวัคจิตนี้เป็นที่อยู่ของปฏิฆะ การละกิเลสตัวนี้ ถ้าเป็นเตวิชโชจะใช้ วิชชา 3 ละ คือเห็นตนและคนอื่นๆเกิดแก่เจ็บตายในสงสาร หรือจะละทีละตัวก็ได้ ถ้าเราไม่มีเวลาไปสั่งสมพลังจิตให้เกิดฌาน ก็ใช้วิธีแผ่เมตตาเอา ก็จะละปฏิฆะได้เหมือนกัน
สังโยชน์เบิ้องบนก็นัยเดียวกัน
รูปราคะ - จักขุ
อรูปราคะ - ญาน (จากวิปัสสนา)
มานะ - ปัญญา
อุทธัจจะ - แสงสว่าง
อวิชชา -ภวังคจิตนี้สร้างมาจากวิญญาน ใช้วิชชา คือ ความรู้แจ้งในวิญญาน นามรูปก็จะละอวิชชาได้ โดยวิธี แยกวิญญานรูปนามออกจากกัน
แผนที่การเดินทางสำหรับเตวิชโช
ตอบเองเลย คือ ของพระอรหันต์แบบสุขวิปัสสโก ซึง อริยบุคคลประเภทอื่นใช้เดินด้วยก็จะติกขัดตั้ง
แต่สักกายทิฏฐิแล้ว ตัวสักกายะทิฏนี้ สุขวิปัสสโกจะละได้เกือบหมด ไม่ว่าจะเป็นรูป เวทนา สังขาร วิญญาน
โสดาบันแบบสีขวิปัสสโกส่วนใหญ่จึงเป็นแบบเอกพีชีหมด
ในขณะอริยะบุคคลแบบเจโตวิมุติจะสักกายทิฏฐิละสัหกายะทิฏฐิได้แค่กายเท่านั้น เพราะฉะนั้น จึงทำใฟ้สับสนพอสมควร ว่าสักกายทิฏฐินี้
ต้องละได้หมดหรือไม่
ทิ้งแผนที่สังโยชน์ 10 ไปก่อน แล้วมาดูแผนที่ตามแบบที่ผมลองสังเคราะห์ขึ้น
อวิชชาสร้างจิตมาจากขันธ์ ๕
คือ ฌาน 1 สร้างจากรูป
ฌาน 2 สร้างจากเวทนา
ฌาน 3 สร้างจากสัญญา
ฌาน 4 สร้างจากสังขาร
ฌาน 5 สร้างจากวิญญาน
คั่นดัวยภวตัณหา ข้างบนคือที่อยู่ของโอรัมภาคิยสังโยชน์
จากนั้นก็เป็น อุทถัมภาคิยสังโยชน์
รูปราคะ กิเลสตัวนี้สร้างมาจาก รูป.
อรูปราคะ สร้างจากเวทนา
มานะ (ความสำคัญ หมายมั่นว่าดีกว่า เลวกว่า ) สร้างจากสัญญา
อุทธัจจะ สร้างจากสังขาร
อวิชชา สร้างจากวิญญาน ( คือ ความไม่รู้ในวิญญาน)
ฯลฯ
การละก็ตามที่พระพุทธเจ้าได้ตรัสไว้ คือ ละกาม ละอกุศล เจริญกุศลด้านมรรคภาวนา คือ อภิญญาเทสิตธรรม ๓๗ ประการ จนเกิด จักขุ ญาน ปัญญา แสงสว่าง และวิชชาขึ้น
ฌานที่ 1 เพิกถอนด้วย ละรูปวิตก+ตัณหา ด้วย จักขุ ด้วยวิธีการกำหนดรู้ทุกข์ และเหตุให้เกิดทุกข์ เมื่อจิตมีกำลังก็จะสลัดตัณหาทิ้งได้
ฌานที่ 2 เพิกถอนด้วย ญาน จากวิปัสสนา พิจารณาเวทนาลงไตรลักษณ์
ฌานที่ 3 เพิกถอนด้วย ปัญญา ความรอบรู้ในสังขาร ใช้อสุภะตัดขาดราคะอย่างหยาบที่อาศัยอยู่ทีนี้ได้ให้หมดไปได้
ฌานที่ 4 ภวังคจิตนี้เป็นที่อยู่ของ ราคะ ที่เป็นความรู้สึกเพียว ๆ ละได้ด้วย แสงสว่สง ที่เกิดจากเจโตวิมุติแบบเพียว ๆ เมื่อสมาธิบริบูรณ์เป็นอัปปนาก็จะบรรลุไปเอง เพราะการเข้าไปสงบระงับของสังขาร
ฌานที่ 5 ภวัคจิตนี้เป็นที่อยู่ของปฏิฆะ การละกิเลสตัวนี้ ถ้าเป็นเตวิชโชจะใช้ วิชชา 3 ละ คือเห็นตนและคนอื่นๆเกิดแก่เจ็บตายในสงสาร หรือจะละทีละตัวก็ได้ ถ้าเราไม่มีเวลาไปสั่งสมพลังจิตให้เกิดฌาน ก็ใช้วิธีแผ่เมตตาเอา ก็จะละปฏิฆะได้เหมือนกัน
สังโยชน์เบิ้องบนก็นัยเดียวกัน
รูปราคะ - จักขุ
อรูปราคะ - ญาน (จากวิปัสสนา)
มานะ - ปัญญา
อุทธัจจะ - แสงสว่าง
อวิชชา -ภวังคจิตนี้สร้างมาจากวิญญาน ใช้วิชชา คือ ความรู้แจ้งในวิญญาน นามรูปก็จะละอวิชชาได้ โดยวิธี แยกวิญญานรูปนามออกจากกัน