ทำไมท่านแปลแบบนี้ล่ะ
"๔. อรหันตสูตรที่ ๑
ว่าด้วยพระอรหันต์เป็นผู้เลิศในโลก
[๑๕๒] พระนครสาวัตถี ฯลฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย รูปไม่เที่ยง ฯลฯ เวทนาไม่เที่ยงฯลฯ สัญญาไม่เที่ยง ฯลฯ สังขารไม่เที่ยง ฯลฯ วิญญาณไม่เที่ยง
สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์ สิ่งใดเป็นทุกข์ สิ่งนั้นเป็นอนัตตา สิ่งใดเป็นอนัตตา
สิ่งนั้นควรเห็นตามความเป็นจริงด้วยปัญญาอันชอบ อย่างนี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเรา นั่นไม่เป็นเรา นั่นไม่ใช่ตัวตนของเรา.
ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้ได้สดับแล้ว เห็นอยู่อย่างนี้ ย่อมเบื่อหน่ายทั้งในรูป ทั้งในเวทนา ืทั้งในสัญญา ทั้งในสังขาร ทั้งในวิญญาณ
เมื่อเบื่อหน่าย ย่อมคลายกำหนัด เพราะคลายกำหนัด จิตย่อมหลุดพ้น.
เมื่อหลุดพ้นแล้ว ย่อมมีญาณหยั่งรู้ว่า หลุดพ้นแล้ว. ย่อมรู้ชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำ ทำเสร็จแล้ว
กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี.
ดูกรภิกษุทั้งหลาย พระอรหันต์ทั้งหลาย เป็นผู้เลิศ เป็นผู้ประเสริฐสุดในโลก กว่าสัตตาวาสและภวัคคภพ."
เอาล่ะ ตรงข้อความนี้แหละ "เพราะคลายกำหนัด จิตย่อมหลุดพ้น"
เดี๋ยวๆๆ เราตกลงกันแล้วไงว่า จิตคือ วิญญาณขันธ์ แล้วจะไปหลุดพ้นอะไร
๑ ในขันธ์ ๕ หลุดพ้นจากอะไร ....?
ก่อนอื่น เราตกลงกันแล้วนะว่า ขันธ์ ๕ ไม่ใช่เราไม่ใช่ของเรา
ขันธ์ ๕ มีกิเลสหรือ...?
ถ้าใช่ ขันธ์ ๕ ก็หลุดพ้นจากกิเลส แล้วเกี่ยวอะไรกับเราล่ะ...
เราพิจารณาไตรลักษณ์อยู่ดีๆ วิญญาณในขันธ์ ๕ หลุดพ้นเฉยเบย
ฉันเลยไปดูบาลี ฉันไม่รู้เรื่องบาลีนะ เดาๆเอาอย่างเดียว
เห็นท่านใช้คำนี้ต่างหากล่ะ
"นิพฺพินฺทติ นิพฺพินฺทํ วิรชฺชติ วิราคา วิมุจฺจติ ฯ วิมุตฺตสฺมึ วิมุตฺตมิติ"
นั่นไง... วิมุตติ
ท่านใช้คำว่าวิมุตติ ใช่มั้ย.. หลุดพ้น...
แล้วจิตหลุดพ้นมาจากไหน...?
ทำไมไปแปลว่าจิตหลุดพ้นได้... หรือแปลมาจากคำว่า วิมุตติ อีกที
ใครเข้าใจช่วยแปลหน่อยนะจ๊ะว่าจะเอายังไงดี
เพราะจิตจะหลุดพ้นไปไหนยังไงได้ละ...?
โอ... นี่ถ้าถามว่า เรา คืออะไรในพระสูตรนี้ก็จะยาวๆกันไปอีกนะ
ทำไมแปลแบบนี้ "จิตหลุดพ้น"
"๔. อรหันตสูตรที่ ๑
ว่าด้วยพระอรหันต์เป็นผู้เลิศในโลก
[๑๕๒] พระนครสาวัตถี ฯลฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย รูปไม่เที่ยง ฯลฯ เวทนาไม่เที่ยงฯลฯ สัญญาไม่เที่ยง ฯลฯ สังขารไม่เที่ยง ฯลฯ วิญญาณไม่เที่ยง
สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์ สิ่งใดเป็นทุกข์ สิ่งนั้นเป็นอนัตตา สิ่งใดเป็นอนัตตา
สิ่งนั้นควรเห็นตามความเป็นจริงด้วยปัญญาอันชอบ อย่างนี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเรา นั่นไม่เป็นเรา นั่นไม่ใช่ตัวตนของเรา.
ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้ได้สดับแล้ว เห็นอยู่อย่างนี้ ย่อมเบื่อหน่ายทั้งในรูป ทั้งในเวทนา ืทั้งในสัญญา ทั้งในสังขาร ทั้งในวิญญาณ
เมื่อเบื่อหน่าย ย่อมคลายกำหนัด เพราะคลายกำหนัด จิตย่อมหลุดพ้น.
เมื่อหลุดพ้นแล้ว ย่อมมีญาณหยั่งรู้ว่า หลุดพ้นแล้ว. ย่อมรู้ชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำ ทำเสร็จแล้ว
กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี.
ดูกรภิกษุทั้งหลาย พระอรหันต์ทั้งหลาย เป็นผู้เลิศ เป็นผู้ประเสริฐสุดในโลก กว่าสัตตาวาสและภวัคคภพ."
เอาล่ะ ตรงข้อความนี้แหละ "เพราะคลายกำหนัด จิตย่อมหลุดพ้น"
เดี๋ยวๆๆ เราตกลงกันแล้วไงว่า จิตคือ วิญญาณขันธ์ แล้วจะไปหลุดพ้นอะไร
๑ ในขันธ์ ๕ หลุดพ้นจากอะไร ....?
ก่อนอื่น เราตกลงกันแล้วนะว่า ขันธ์ ๕ ไม่ใช่เราไม่ใช่ของเรา
ขันธ์ ๕ มีกิเลสหรือ...?
ถ้าใช่ ขันธ์ ๕ ก็หลุดพ้นจากกิเลส แล้วเกี่ยวอะไรกับเราล่ะ...
เราพิจารณาไตรลักษณ์อยู่ดีๆ วิญญาณในขันธ์ ๕ หลุดพ้นเฉยเบย
ฉันเลยไปดูบาลี ฉันไม่รู้เรื่องบาลีนะ เดาๆเอาอย่างเดียว
เห็นท่านใช้คำนี้ต่างหากล่ะ
"นิพฺพินฺทติ นิพฺพินฺทํ วิรชฺชติ วิราคา วิมุจฺจติ ฯ วิมุตฺตสฺมึ วิมุตฺตมิติ"
นั่นไง... วิมุตติ
ท่านใช้คำว่าวิมุตติ ใช่มั้ย.. หลุดพ้น...
แล้วจิตหลุดพ้นมาจากไหน...?
ทำไมไปแปลว่าจิตหลุดพ้นได้... หรือแปลมาจากคำว่า วิมุตติ อีกที
ใครเข้าใจช่วยแปลหน่อยนะจ๊ะว่าจะเอายังไงดี
เพราะจิตจะหลุดพ้นไปไหนยังไงได้ละ...?
โอ... นี่ถ้าถามว่า เรา คืออะไรในพระสูตรนี้ก็จะยาวๆกันไปอีกนะ