- โพลนี้ไม่ได้จัดทำขึ้นเพื่อ ใช้ผลคะแนนข้อไหนที่คนเห็นด้วยมากที่สุด มาตัดสินว่าตัวเลือกไหนถูกต้อง
- การ "ถก" ย่อมสามารถแสดงความคิดเห็นได้โดยสุภาพ มีหลักการ ไม่เบียดเบียน ทำร้าย หรือกล่าวหาผู้อื่น
- ใช่ หรือ ไม่ใช่ ทุกคนย่อมมีเหตุผล หรือกระบวนการคิดแตกต่างกันออกไปตามภมิที่ได้เรียนรู้มา กระทู้นี้จึงไม่ใช่ที่ตัดสินว่าเป็นที่สุด หากแต่เป็นพื้นที่เพื่อแสดงออกเท่านั้น
การพูดเพ้อเจ้อนั้น เป็นอย่างไร? เป็นอย่างนี้ คือ กล่าวไม่ถูกเวลา กล่าวคำไม่จริง กล่าวไม่อิงประโยชน์ กล่าวไม่อิงธรรม กล่าวไม่อิงวินัย กล่าวคำที่ไม่มีหลักฐาน ไม่มีที่อ้างอิง ไม่มีที่กำหนด ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ (พระสุตันตะปิฏก)
พุทธศาสานาผ่านพ้นมา 2561 ปีแล้ว พระผู้มีพระภาคเจ้าเคยกล่าวเตือนกับภิกษุถึงเรื่องการอัตรธานของพระธรรม (ศึกษาได้จากเรื่องกลองศึกอานกะ)
ว่าด้วยเหล่า คำคม, คำกลอน, กาพย์ ฯลฯ ที่นักกวีร้อยกรองขึ้นมาใหม่ มีคำฟ้องจอง สัมผัสนอก-ใน ไพเราะ ที่เป็นเรื่องไม่เกี่ยวข้องกับธรรมเลย เป็นคำกล่าวของสาวก เมื่อมีคนนำคำคม ฯลฯที่นักกวีแต่งขึ้นใหม่เหล่านั้นมาเผยแผ่ (ไม่ว่าจะเป็นโซเชียลใด) คนส่วนมากจะสนใจ จะติดตามอย่างตั้งใจ และสำคัญว่าเป็นสิ่งที่ควรศึกษาและปฏิบัติตาม
ดังที่เราๆเห็น โพสใส่รูปสวยๆ ด้วยข้อความสั้นๆ ไม่ได้เอามาทั้งหมด หาแหล่องอ้างอิงไม่มี แบบนี้จัดเข้าประเภทนี้หรือไม่?
ทั้งนี้การโพส จะจัดว่าเป็นการพูดได้หรือไม่ ซึ่งในสมัยพุทธกาลไม่มีคำว่าโพส มีคำกล่าวแบบกว้างๆเช่น แสดง เปิดเผย พูด แจ้ง บอก ฯลฯ ซึ่งมีความหมายในเชิงของการสื่อสารแบบสองฝ่าย
เชิญท่านทั้งหลาย มาดูเถิด.......
*** ปิดโหวต วันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ.2561 เวลา 13:53:25 น.
คุณลืมตอบคำถามที่ * จำเป็นต้องตอบ
เชิญ "ถก" การโพสธรรมะในโซเชียลมีเดีย จัดว่าเป็นการพูดเพ้อเจ้อหรือไม่?
- การ "ถก" ย่อมสามารถแสดงความคิดเห็นได้โดยสุภาพ มีหลักการ ไม่เบียดเบียน ทำร้าย หรือกล่าวหาผู้อื่น
- ใช่ หรือ ไม่ใช่ ทุกคนย่อมมีเหตุผล หรือกระบวนการคิดแตกต่างกันออกไปตามภมิที่ได้เรียนรู้มา กระทู้นี้จึงไม่ใช่ที่ตัดสินว่าเป็นที่สุด หากแต่เป็นพื้นที่เพื่อแสดงออกเท่านั้น
การพูดเพ้อเจ้อนั้น เป็นอย่างไร? เป็นอย่างนี้ คือ กล่าวไม่ถูกเวลา กล่าวคำไม่จริง กล่าวไม่อิงประโยชน์ กล่าวไม่อิงธรรม กล่าวไม่อิงวินัย กล่าวคำที่ไม่มีหลักฐาน ไม่มีที่อ้างอิง ไม่มีที่กำหนด ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ (พระสุตันตะปิฏก)
พุทธศาสานาผ่านพ้นมา 2561 ปีแล้ว พระผู้มีพระภาคเจ้าเคยกล่าวเตือนกับภิกษุถึงเรื่องการอัตรธานของพระธรรม (ศึกษาได้จากเรื่องกลองศึกอานกะ)
ว่าด้วยเหล่า คำคม, คำกลอน, กาพย์ ฯลฯ ที่นักกวีร้อยกรองขึ้นมาใหม่ มีคำฟ้องจอง สัมผัสนอก-ใน ไพเราะ ที่เป็นเรื่องไม่เกี่ยวข้องกับธรรมเลย เป็นคำกล่าวของสาวก เมื่อมีคนนำคำคม ฯลฯที่นักกวีแต่งขึ้นใหม่เหล่านั้นมาเผยแผ่ (ไม่ว่าจะเป็นโซเชียลใด) คนส่วนมากจะสนใจ จะติดตามอย่างตั้งใจ และสำคัญว่าเป็นสิ่งที่ควรศึกษาและปฏิบัติตาม
ดังที่เราๆเห็น โพสใส่รูปสวยๆ ด้วยข้อความสั้นๆ ไม่ได้เอามาทั้งหมด หาแหล่องอ้างอิงไม่มี แบบนี้จัดเข้าประเภทนี้หรือไม่?
ทั้งนี้การโพส จะจัดว่าเป็นการพูดได้หรือไม่ ซึ่งในสมัยพุทธกาลไม่มีคำว่าโพส มีคำกล่าวแบบกว้างๆเช่น แสดง เปิดเผย พูด แจ้ง บอก ฯลฯ ซึ่งมีความหมายในเชิงของการสื่อสารแบบสองฝ่าย
เชิญท่านทั้งหลาย มาดูเถิด.......