พุทธวจน
ภิกษุผู้มีจิตหลุดพ้นแล้วอย่างนี้แล ย่อมไม่วิวาทแก่งแย่งกับใครๆ
โวหารใดที่ชาวโลกพูดกัน ก็พูดไปตามโวหารนั้น แต่ไม่ยึดมั่นด้วยทิฏฐิ
วชิราภิกษุณีคาถา
ดูกรมาร เพราะเหตุไรหนอ ความเห็นของท่านจึงหวนกลับมาว่าสัตว์ ฯ
ในกองสังขารล้วนนี้ ย่อมไม่ได้นามว่าสัตว์ ฯ
เหมือนอย่างว่า เพราะคุมส่วนทั้งหลายเข้า เสียงว่ารถย่อมมี
ฉันใด ฯ
เมื่อขันธ์ทั้งหลายยังมีอยู่
การสมมติว่าสัตว์ย่อมมี ฉันนั้น ฯ
ความจริงทุกข์เท่านั้นย่อมเกิด ทุกข์ย่อมตั้งอยู่และเสื่อมสิ้น
ไป นอกจากทุกข์ ไม่มีอะไรเกิด นอกจากทุกข์ ไม่มี
อะไรดับ ฯ
**************************************
สัตว์ ในความหมาย มาร ของ คนทั่วไป คือ ตน เรา ของเรา ในขันธิ์ 5 สมมุติของโลก
สัตว์ ในความหมายวชิราภิกษุณี พูดไปตามโวหารนั้น แต่ไม่ยึดมั่นด้วยทิฏฐิคือทุกข์ย่อมตั้งอยู่และเสื่อมสิ้น
เพราะการติดแล้ว ข้องแล้ว ในสังขารเพราะฉะนั้นจึงเรียกว่า ‘สัตว์’
เพราะการไม่ติดแล้ว ไม่ข้องแล้ว ในสังขาร เพราะฉะนั้น ย่อมไม่ได้นามว่าสัตว์ ฯ
เมื่อขันธ์ทั้งหลายยังมีอยู่อุปาทานขันธ์ อันติดแล้ว ข้องแล้ว
การสมมติว่าสัตว์ย่อมมี
มาร คือ อโยนิโสมนสิการ เห็นสัตว์ คือ ตน เรา ของเรา
ค้นหาว่าใคร ยิงธนู ใส่ตน ไม่สนใจแผล
ค้นหาสัตว์ ตน บุคคล
ด้วยอนุสัยว่า อัตตา ตัวตน เรา ของเรา
พระพุทธเจ้าตรัสว่า
เมื่อปุถุชนนั้นมนสิการอยู่โดยไม่แยบคายอย่างนี้ บรรดาทิฏฐิ ๖ ทิฏฐิอย่างใดอย่างหนึ่ง
ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิโดยจริงโดยแท้ย่อมเกิดขึ้นแก่ปุถุชนนั้นว่า
ตนของเรามีอยู่ 1
ตนของเราไม่มีอยู่ 2
เราย่อมรู้ชัดตนด้วยตนเอง 3
เราย่อมรู้ชัดสภาพมิใช่ตนด้วยตนเอง4
เราย่อมรู้ตนด้วยสภาพมิใช่ตน 5
ทิฏฐิย่อมเกิดมีแก่ปุถุชนนั้นอย่างนี้ว่า ตนของเรา
นี้เป็นผู้เสวย ย่อมเสวยวิบากแห่งกรรมทั้งดีทั้งชั่วในอารมณ์นั้นๆ ก็ตนของเรานี้นั้นเป็นของ
แน่นอนยั่งยืนเที่ยงแท้ ไม่แปรปรวนเป็นธรรมดา จักตั้งอยู่อย่างนั้นเสมอด้วยสิ่งยั่งยืนแท้
ข้อนี้เรากล่าวว่าทิฏฐิ ชัฏคือทิฏฐิ กันดารคือทิฏฐิ เสี้ยนหนามคือทิฏฐิ ความดิ้นรนคือทิฏฐิ
สิ่งที่ประกอบ
สัตว์ไว้คือทิฏฐิ
ธรรมะเตือนสติ การสมมติว่าสัตว์ สมมุติว่าตน แต่จริงแท้คือ ทุกข์มีเพราะเหตุ และความดับทุกข์มีเพราะเหตุดับ
ภิกษุผู้มีจิตหลุดพ้นแล้วอย่างนี้แล ย่อมไม่วิวาทแก่งแย่งกับใครๆ
โวหารใดที่ชาวโลกพูดกัน ก็พูดไปตามโวหารนั้น แต่ไม่ยึดมั่นด้วยทิฏฐิ
วชิราภิกษุณีคาถา
ดูกรมาร เพราะเหตุไรหนอ ความเห็นของท่านจึงหวนกลับมาว่าสัตว์ ฯ
ในกองสังขารล้วนนี้ ย่อมไม่ได้นามว่าสัตว์ ฯ
เหมือนอย่างว่า เพราะคุมส่วนทั้งหลายเข้า เสียงว่ารถย่อมมี
ฉันใด ฯ
เมื่อขันธ์ทั้งหลายยังมีอยู่ การสมมติว่าสัตว์ย่อมมี ฉันนั้น ฯ
ความจริงทุกข์เท่านั้นย่อมเกิด ทุกข์ย่อมตั้งอยู่และเสื่อมสิ้น
ไป นอกจากทุกข์ ไม่มีอะไรเกิด นอกจากทุกข์ ไม่มี
อะไรดับ ฯ
**************************************
สัตว์ ในความหมาย มาร ของ คนทั่วไป คือ ตน เรา ของเรา ในขันธิ์ 5 สมมุติของโลก
สัตว์ ในความหมายวชิราภิกษุณี พูดไปตามโวหารนั้น แต่ไม่ยึดมั่นด้วยทิฏฐิคือทุกข์ย่อมตั้งอยู่และเสื่อมสิ้น
เพราะการติดแล้ว ข้องแล้ว ในสังขารเพราะฉะนั้นจึงเรียกว่า ‘สัตว์’
เพราะการไม่ติดแล้ว ไม่ข้องแล้ว ในสังขาร เพราะฉะนั้น ย่อมไม่ได้นามว่าสัตว์ ฯ
เมื่อขันธ์ทั้งหลายยังมีอยู่อุปาทานขันธ์ อันติดแล้ว ข้องแล้ว การสมมติว่าสัตว์ย่อมมี
มาร คือ อโยนิโสมนสิการ เห็นสัตว์ คือ ตน เรา ของเรา
ค้นหาว่าใคร ยิงธนู ใส่ตน ไม่สนใจแผล
ค้นหาสัตว์ ตน บุคคล
ด้วยอนุสัยว่า อัตตา ตัวตน เรา ของเรา
พระพุทธเจ้าตรัสว่า
เมื่อปุถุชนนั้นมนสิการอยู่โดยไม่แยบคายอย่างนี้ บรรดาทิฏฐิ ๖ ทิฏฐิอย่างใดอย่างหนึ่ง
ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิโดยจริงโดยแท้ย่อมเกิดขึ้นแก่ปุถุชนนั้นว่า
ตนของเรามีอยู่ 1
ตนของเราไม่มีอยู่ 2
เราย่อมรู้ชัดตนด้วยตนเอง 3
เราย่อมรู้ชัดสภาพมิใช่ตนด้วยตนเอง4
เราย่อมรู้ตนด้วยสภาพมิใช่ตน 5
ทิฏฐิย่อมเกิดมีแก่ปุถุชนนั้นอย่างนี้ว่า ตนของเรา
นี้เป็นผู้เสวย ย่อมเสวยวิบากแห่งกรรมทั้งดีทั้งชั่วในอารมณ์นั้นๆ ก็ตนของเรานี้นั้นเป็นของ
แน่นอนยั่งยืนเที่ยงแท้ ไม่แปรปรวนเป็นธรรมดา จักตั้งอยู่อย่างนั้นเสมอด้วยสิ่งยั่งยืนแท้
ข้อนี้เรากล่าวว่าทิฏฐิ ชัฏคือทิฏฐิ กันดารคือทิฏฐิ เสี้ยนหนามคือทิฏฐิ ความดิ้นรนคือทิฏฐิ
สิ่งที่ประกอบ
สัตว์ไว้คือทิฏฐิ