สติปัฏฐาน4 กายที่กาย จิตที่จิต เวทนาที่เวทนา ธรรมารมณ์ที่ธรรมารมณ์
จิตเป็นฌาณ เกิดญาณ เห็นนามรูปแยกจากกัน
จิตเห็นจิต จิตเห็นอุปาทาน จิตเห็นกิเลส
ครบองค์3 มี สมมุติว่า
ประธาน คือจิต มีกริยา คืออุปาทาน มีกรรมคือกิเลส ที่จิตเป็นประธานเพราะ จิตมีอินทรีย์เป็นใหญ่
จิตมีอุปาทานไปยึดกิเลส
จิตไปยึดรูปเป็นตน เป็นอัตตา เรียกว่า รูปูปาทานักขันโธ รูป เสีบง กลิ่น รส ที่เรารับรู้สึกเป็นรูป รูปขันธ์
จิตไปยึดวิญญาณเป็นตน เป็นอัตตา เรียกว่าวิญญูปาทานักขันโธ ยึด วิญญาณขันธ์
จิตไปยึดสัญญาเป็นตนเป็นอัตตา เรียกว่าสัญญูปาทานักขันโธ ยึด สัญญาขันธ์
จิตไปยึดเวทนาเป็นตน เป็นอัตตา เรียกว่าเวทนูปาทานักขันโธ ยึด เวทนาขันธ์
จิตไปยึดสังขารเป็นตนเป็นอัตตา เรียกว่าสังขารูปาทานักขันโธ ยึด สังขารขันธ์
จิตไปยึดขันธ์5 เป็นตนเป็นอัตตา เรียกว่าอุปาทานักขันโธ ยึดขันธ์5
จิตเห็นปัจจัยให้เกิดรูปนาม
จิตเห็นรูปที่อายตนะภายนอก และมากระทบกับอายตนะภายใน เป็นนาม เกิดธรรมารมณ์
เกิดผัสสะ มโนวิญญาณ สู่มโนทวาร
จิตเห็นไตรลักษณ์
ห้าม ใช้จิตนึกถึงสัญญา ว่า อันนี้ ไม่ใช่คน ไม่ใช่ตน ไม่ใช่ สัตว์ สิ่งของ เป็นอนัตตา
เพราะจิตเจตนาไปนึกถึงสัญญาที่ตนจำมาจากตำราเมื่อใด จิตจะหลงคิดว่า
ไตรลักษณ์ที่เรานึกเป็นสิ่งที่จิตเกิดวิปัสสนาแล้วเห็นด้วยปัญญา
จิตจะเกิดวิปัสสนูปกิเลสทันที สัญญาจะไปตัดปัญญา จะไปนึกถึงความจำเก่าๆ ไม่เป็นปรมัติอารมณ์ ที่เป็นปัจจุบันอารมณ์
จิตจะเห็นไตรลักษณ์ด้วยญาณที่มีจิตเป็นฌาณเท่านั้น จิตจะไม่มีเจตนาไปปรุงแต่งอารมณ์ใดๆๆ
จิตจะเห็นความไม่เที่ยงของนามรูป
จิตเห็นจิต จิตเห็นอุปาทาน ที่ไปยึด กิเลส จิตเห็นกิเลส ทั้งหมดชัดเจนแจ่มแจ้งแทงตลอด
จิตรู้ว่ากิเลสมีขึ้นในจิตได้เพราะจิตไปยึดขันธ์5เป็นอัตตา
จิตมีตัณหา ทำให้มีอุปาทาน ในกิเลส เพื่อสนองตัณหา ราคะ
จิตเห็นกิเลสมีขึ้นมาในจิตในกาย หนักกาย หนักใจไปหมด
กิเลสเพิ่มขึ้นเรื่อยๆๆ แล้วค่อยๆๆลดลง จนจิตคลายความกำหนัดลง
แล้วก็เกิดขึ้นใหม่อีกไปเรื่อยๆๆ ไม่รู้จักจบสิ้น จิตเกิดปัญญารู้ว่าจิตไปยึดกิเลสไว้เป็นของคนเป็นอัตตา กิเลสก็ยังไม่เที่ยง
จิตเกิดทุกข์ใจที่กิเลสที่ตนเป็นเจ้าของจะหายไป ยึดให้อยู่ไม่ให้หายไปก็ยึดไม่อยู่ อยากให้ราคะรู้สึกเสียวนานๆๆก็ไม่เสียว
หดเหี่ยวไปเป็นทุกข์ต้องไปหายามากินให้เสียวนานๆๆ จิตเกิดปัญญารู้ว่ากิเลสเป็นอนิจจัง ไม่เที่ยง
จิตรู้สึกเป็นทุกข์ที่ต้องสูญเสีย ความเสียวที่ตนต้องการให้เสียวนานๆ ก็ไม่เป็นไปตามที่จิตปราถนา
จิตจึงรู้ว่ายึดไม่ได้จิตก็รู้จักวางอัตตาของตนในกิเลสลง
จิตรู้ว่าอนัตตาเป็นแบบนี้คือวางอัตตาจิตก็จะเห็นอนัตตา
จิตเห็นความเสื่อมของกิเลสความเสียว ที่ตนเห็นว่าดีว่าเป็นของไม่ดี
จิต เห็นกิเลส ความเสียว เป็นของน่ากลัว จิตเห็นความเบื่อหน่ายของกิเลสเบื่อหน่ายความเสียว ของราคะ
จิตอยากจะหลุดไปจากกิเลสความเสียว จิตอยากจะหลุดไปจากราคะ
จิตพิจารณาทบทวนในราคะที่เกิดที่กายที่จิตเพื่อจะให้รู้ว่าราคะเกิดมาได้อย่างไร
เพื่อหาทางหนีแต่ไม่สามารถหลุดพ้นได้ จิตก็วางเฉยในราคะนั้น ดูราคะอยู่เฉยๆๆ ดูความเสียวอยู่เฉยๆๆ
จิตเห็นไตรลักษณ์ชัดเจนแจ่มแจ้งแทงตลอด ตั้งแต่ราคะมีขั้น โดยอุปาทานไปยึด
ราคะมีมากขึ้น และพอจิตคลายกำหนัดราคะลดลงเสื่อมไป
จิตเห็นมรรค จิตเห็นว่า ราคะทำให้จิตทุกข์ เพราะมีตัณหา อุปาทานเป็นเหตุ
จิตรู้ว่าต้องละตัวตน ที่เป็นตัวทำให้เกิดอุปาทาน ไปยึดราคะมา
จิตเห็นอนัตตา คือจิตวางอัตตา จิตว่างหมดจากราคะ ที่จิตยึดมานานคิดว่าราคะเป็นของดี
ความเสียวเป็นของดี จิตเห็นว่าราคะยุบลงแฟบเหมือนปล่อยลมออกจากลูกโป่ง เหมือนเทน้ำลงพื้นทราย ยุบหายไปอย่างรวดเร็ว
จิตเห็นอัตตา
จิตเป็นฌาณ เกิดญาณ เห็นนามรูปแยกจากกัน
จิตเห็นจิต จิตเห็นอุปาทาน จิตเห็นกิเลส
ครบองค์3 มี สมมุติว่า
ประธาน คือจิต มีกริยา คืออุปาทาน มีกรรมคือกิเลส ที่จิตเป็นประธานเพราะ จิตมีอินทรีย์เป็นใหญ่
จิตมีอุปาทานไปยึดกิเลส
จิตไปยึดรูปเป็นตน เป็นอัตตา เรียกว่า รูปูปาทานักขันโธ รูป เสีบง กลิ่น รส ที่เรารับรู้สึกเป็นรูป รูปขันธ์
จิตไปยึดวิญญาณเป็นตน เป็นอัตตา เรียกว่าวิญญูปาทานักขันโธ ยึด วิญญาณขันธ์
จิตไปยึดสัญญาเป็นตนเป็นอัตตา เรียกว่าสัญญูปาทานักขันโธ ยึด สัญญาขันธ์
จิตไปยึดเวทนาเป็นตน เป็นอัตตา เรียกว่าเวทนูปาทานักขันโธ ยึด เวทนาขันธ์
จิตไปยึดสังขารเป็นตนเป็นอัตตา เรียกว่าสังขารูปาทานักขันโธ ยึด สังขารขันธ์
จิตไปยึดขันธ์5 เป็นตนเป็นอัตตา เรียกว่าอุปาทานักขันโธ ยึดขันธ์5
จิตเห็นปัจจัยให้เกิดรูปนาม
จิตเห็นรูปที่อายตนะภายนอก และมากระทบกับอายตนะภายใน เป็นนาม เกิดธรรมารมณ์
เกิดผัสสะ มโนวิญญาณ สู่มโนทวาร
จิตเห็นไตรลักษณ์
ห้าม ใช้จิตนึกถึงสัญญา ว่า อันนี้ ไม่ใช่คน ไม่ใช่ตน ไม่ใช่ สัตว์ สิ่งของ เป็นอนัตตา
เพราะจิตเจตนาไปนึกถึงสัญญาที่ตนจำมาจากตำราเมื่อใด จิตจะหลงคิดว่า
ไตรลักษณ์ที่เรานึกเป็นสิ่งที่จิตเกิดวิปัสสนาแล้วเห็นด้วยปัญญา
จิตจะเกิดวิปัสสนูปกิเลสทันที สัญญาจะไปตัดปัญญา จะไปนึกถึงความจำเก่าๆ ไม่เป็นปรมัติอารมณ์ ที่เป็นปัจจุบันอารมณ์
จิตจะเห็นไตรลักษณ์ด้วยญาณที่มีจิตเป็นฌาณเท่านั้น จิตจะไม่มีเจตนาไปปรุงแต่งอารมณ์ใดๆๆ
จิตจะเห็นความไม่เที่ยงของนามรูป
จิตเห็นจิต จิตเห็นอุปาทาน ที่ไปยึด กิเลส จิตเห็นกิเลส ทั้งหมดชัดเจนแจ่มแจ้งแทงตลอด
จิตรู้ว่ากิเลสมีขึ้นในจิตได้เพราะจิตไปยึดขันธ์5เป็นอัตตา
จิตมีตัณหา ทำให้มีอุปาทาน ในกิเลส เพื่อสนองตัณหา ราคะ
จิตเห็นกิเลสมีขึ้นมาในจิตในกาย หนักกาย หนักใจไปหมด
กิเลสเพิ่มขึ้นเรื่อยๆๆ แล้วค่อยๆๆลดลง จนจิตคลายความกำหนัดลง
แล้วก็เกิดขึ้นใหม่อีกไปเรื่อยๆๆ ไม่รู้จักจบสิ้น จิตเกิดปัญญารู้ว่าจิตไปยึดกิเลสไว้เป็นของคนเป็นอัตตา กิเลสก็ยังไม่เที่ยง
จิตเกิดทุกข์ใจที่กิเลสที่ตนเป็นเจ้าของจะหายไป ยึดให้อยู่ไม่ให้หายไปก็ยึดไม่อยู่ อยากให้ราคะรู้สึกเสียวนานๆๆก็ไม่เสียว
หดเหี่ยวไปเป็นทุกข์ต้องไปหายามากินให้เสียวนานๆๆ จิตเกิดปัญญารู้ว่ากิเลสเป็นอนิจจัง ไม่เที่ยง
จิตรู้สึกเป็นทุกข์ที่ต้องสูญเสีย ความเสียวที่ตนต้องการให้เสียวนานๆ ก็ไม่เป็นไปตามที่จิตปราถนา
จิตจึงรู้ว่ายึดไม่ได้จิตก็รู้จักวางอัตตาของตนในกิเลสลง
จิตรู้ว่าอนัตตาเป็นแบบนี้คือวางอัตตาจิตก็จะเห็นอนัตตา
จิตเห็นความเสื่อมของกิเลสความเสียว ที่ตนเห็นว่าดีว่าเป็นของไม่ดี
จิต เห็นกิเลส ความเสียว เป็นของน่ากลัว จิตเห็นความเบื่อหน่ายของกิเลสเบื่อหน่ายความเสียว ของราคะ
จิตอยากจะหลุดไปจากกิเลสความเสียว จิตอยากจะหลุดไปจากราคะ
จิตพิจารณาทบทวนในราคะที่เกิดที่กายที่จิตเพื่อจะให้รู้ว่าราคะเกิดมาได้อย่างไร
เพื่อหาทางหนีแต่ไม่สามารถหลุดพ้นได้ จิตก็วางเฉยในราคะนั้น ดูราคะอยู่เฉยๆๆ ดูความเสียวอยู่เฉยๆๆ
จิตเห็นไตรลักษณ์ชัดเจนแจ่มแจ้งแทงตลอด ตั้งแต่ราคะมีขั้น โดยอุปาทานไปยึด
ราคะมีมากขึ้น และพอจิตคลายกำหนัดราคะลดลงเสื่อมไป
จิตเห็นมรรค จิตเห็นว่า ราคะทำให้จิตทุกข์ เพราะมีตัณหา อุปาทานเป็นเหตุ
จิตรู้ว่าต้องละตัวตน ที่เป็นตัวทำให้เกิดอุปาทาน ไปยึดราคะมา
จิตเห็นอนัตตา คือจิตวางอัตตา จิตว่างหมดจากราคะ ที่จิตยึดมานานคิดว่าราคะเป็นของดี
ความเสียวเป็นของดี จิตเห็นว่าราคะยุบลงแฟบเหมือนปล่อยลมออกจากลูกโป่ง เหมือนเทน้ำลงพื้นทราย ยุบหายไปอย่างรวดเร็ว