๗. โสณสูตรที่ ๑ 10
[๙๗] ข้าพเจ้าได้สดับมาแล้วอย่างนี้ :-12
สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ พระวิหารเวฬุวัน13
กลันทกนิวาปสถาน กรุงราชคฤห์ ครั้งนั้นแล คฤหบดีบุตรชื่อโสณะ14
เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้าถึงที่ประทับ ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคเจ้า15
นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ครั้นแล้ว พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสกะ16
คฤหบดีบุตรชื่อโสณะว่า ดูก่อนโสณะ ก็สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใด17
เหล่าหนึ่ง ย่อมพิจารณาเห็นว่า เราเป็นผู้ประเสริฐกว่าเขา พิจารณา18
เห็นว่า เราเป็นผู้เสมอเขา หรือพิจารณาเห็นว่า เราเป็นผู้เลวกว่าเขา19
ด้วยรูปอันไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ที่เป็นดังนี้20
มิใช่อื่นไกล นอกจากการไม่เห็นธรรมตามความเป็นจริง ย่อมพิจารณา21
[พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค เล่ม ๓ - หน้าที่ 102]
เห็นว่า เราเป็นผู้ประเสริฐกว่าเขา พิจารณาเห็นว่า เราเป็นผู้เสมอเขา 1
หรือพิจารณาเห็นว่า เราเป็นผู้เลวกว่าเขา ด้วยเวทนาอันไม่เที่ยง...2
ด้วยสัญญาอันไม่เที่ยง... ด้วยสังขารอันไม่เที่ยง... ด้วยวิญญาณอัน 3
ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ที่เป็นดังนี้มิใช่อื่นไกล4
นอกจากการไม่เห็นธรรมตามความเป็นจริง.5
[๙๘] ดูก่อนโสณะ ก็สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใดเหล่าหนึ่ง6
ย่อมไม่พิจารณาเห็นว่า เราเป็นผู้ประเสริฐกว่าเขา ไม่พิจารณาเห็นว่า7
เราเป็นผู้เสมอเขา หรือไม่พิจารณาเห็นว่า เราเป็นผู้เลวกว่าเขา ด้วยรูป8
อันไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ที่เป็นดังนี้มิใช่9
อื่นไกล นอกจากการเห็นธรรมตามความเป็นจริง ย่อมไม่พิจารณา10
เห็นว่า เราเป็นผู้ประเสริฐกว่าเขา ไม่พิจารณาเห็นว่า เราเป็นผู้เสมอเขา11
หรือไม่พิจารณาเห็นว่า เราเป็นผู้เลวกว่าเขา ด้วยเวทนาอันไม่เที่ยง...12
ด้วยสัญญาอันไม่เที่ยง... ด้วยสังขารอันไม่เที่ยง... ด้วยวิญญาณอัน13
ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ที่เป็นดังนี้มิใช่อื่นไกล14
นอกจากการเห็นธรรมตามความเป็นจริง.15
[๙๙] พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสถามว่า ดูก่อนโสณะ ท่านจะ16
สำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน รูปเที่ยงหรือไม่เที่ยง ?17@
คฤหบดีบุตรชื่อ โสณะทูลว่า ไม่เที่ยงพระเจ้าข้า.18
พ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์หรือเป็นสุขเล่า ?19@
ส. เป็นทุกข์ พระเจ้าข้า.20
พ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยงเป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา21
ควรหรือหนอที่จะพิจารณาเห็นสิ่งนั้นว่า นั่นของเรา เราเป็นนั่น22
นั่นตัวตนของเรา ?23@
[พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค เล่ม ๓ - หน้าที่ 103]
ส. ข้อนั้นไม่ควรเลย พระเจ้าข้า. 1
พ. เวทนาเที่ยงหรือไม่เที่ยง ?2
ส. ไม่เที่ยง พระเจ้าข้า ฯลฯ3
พ. สัญญาเที่ยงหรือไม่เที่ยง ?4
ส. ไม่เที่ยง พระเจ้าข้า ฯลฯ5
พ. สังขารเที่ยงหรือไม่เที่ยง ?6
ส. ไม่เที่ยง พระเจ้าข้า ฯลฯ7
พ. วิญญาณเที่ยงหรือไม่เที่ยง ?8
ส. ไม่เที่ยง พระเจ้าข้า.9
พ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์หรือเป็นสุขเล่า ?10
ส. เป็นทุกข์ พระเจ้าข้า. 11
พ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา12
ควรหรือหนอที่จะพิจารณาเห็นสิ่งนั้นว่า นั่นของเรา เราเป็นนั่น13
นั่นตัวตนของเรา ?14
ส. ข้อนั้นไม่ควรเลย พระเจ้าข้า. 15
[๑๐๐] ดูก่อนโสณะ เพราะเหตุนั้นแล ท่านพึงเห็นด้วยปัญญา16
อันชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า รูปอย่างใดอย่างหนึ่ง เป็นอดีต17
อนาคต และปัจจุบัน เป็นภายในหรือภายนอก หยาบหรือละเอียด18
เลวหรือประณีต อยู่ในที่ไกลหรือใกล้ รูปทั้งหมด นั่นไม่ใช่ของเรา19
เราไม่เป็นนั่น นั่นไม่ใช่ตัวตนของเรา เวทนาอย่างใดอย่างหนึ่ง...20
สัญญาอย่างใดอย่างหนึ่ง... สังขารเหล่าใดเหล่าหนึ่ง... วิญญาณ21
[พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค เล่ม ๓ - หน้าที่ 104]
อย่างใดอย่างหนึ่ง เป็นอดีต อนาคต ปัจจุบัน เป็นภายในหรือภายนอก 1
หยาบหรือละเอียด เลวหรือประณีต อยู่ในที่ไกลหรือใกล้ วิญญาณ 2
ทั้งหมดนั่นไม่ใช่ของเรา เราไม่เป็นนั่น นั่นไม่ใช่ตัวตนของเรา. 3
ดูก่อนโสณะ อริยสาวกผู้ได้สดับแล้ว เห็นอยู่อย่างนี้ ย่อม4
เบื่อหน่ายแม้ในรูป แม้ในเวทนา แม้ในสัญญา แม้ในสังขาร แม้ใน5
วิญญาณ เมื่อเบื่อหน่ายย่อมคลายกำหนัด เพราะคลายกำหนัด จิตย่อม6
หลุดพ้น เมื่อจิตหลุดพ้นแล้ว ก็มีญาณหยั่งรู้ว่า หลุดพ้นแล้ว ย่อมทราบ7
ชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำทำเสร็จแล้ว8
กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี.9
จบ โสณสูตรที่ ๗10
७. सोणसुत्तं
४९. एवं मे सुतं – एकं समयं भगवा राजगहे विहरति वेळुवने कलन्दकनिवापे। अथ खो सोणो गहपतिपुत्तो येन भगवा तेनुपसङ्कमि …पे॰… एकमन्तं निसिन्नं खो सोणं गहपतिपुत्तं भगवा एतदवोच –
‘‘ये हि केचि, सोण, समणा वा ब्राह्मणा वा अनिच्चेन रूपेन दुक्खेन विपरिणामधम्मेन ‘सेय्योहमस्मी’ति वा समनुपस्सन्ति; ‘सदिसोहमस्मी’ति वा समनुपस्सन्ति; ‘हीनोहमस्मी’ति वा समनुपस्सन्ति; किमञ्ञत्र यथाभूतस्स अदस्सना? अनिच्चाय वेदनाय दुक्खाय विपरिणामधम्माय ‘सेय्योहमस्मी’ति वा समनुपस्सन्ति; ‘सदिसोहमस्मी’ति वा समनुपस्सन्ति; ‘हीनोहमस्मी’ति वा समनुपस्सन्ति; किमञ्ञत्र यथाभूतस्स अदस्सना? अनिच्चाय सञ्ञाय… अनिच्चेहि सङ्खारेहि दुक्खेहि विपरिणामधम्मेहि ‘सेय्योहमस्मी’ति वा समनुपस्सन्ति; ‘सदिसोहमस्मी’ति वा समनुपस्सन्ति; ‘हीनोहमस्मी’ति वा समनुपस्सन्ति; किमञ्ञत्र यथाभूतस्स अदस्सना? अनिच्चेन विञ्ञाणेन दुक्खेन विपरिणामधम्मेन ‘सेय्योहमस्मी’ति वा समनुपस्सन्ति; ‘सदिसोहमस्मी’ति वा समनुपस्सन्ति; ‘हीनोहमस्मी’ति वा समनुपस्सन्ति; किमञ्ञत्र यथाभूतस्स अदस्सना?
‘‘ये च खो केचि, सोण, समणा वा ब्राह्मणा वा अनिच्चेन रूपेन दुक्खेन विपरिणामधम्मेन ‘सेय्योहमस्मी’तिपि न समनुपस्सन्ति ; ‘सदिसोहमस्मी’तिपि न समनुपस्सन्ति ; ‘हीनोहमस्मी’तिपि न समनुपस्सन्ति; किमञ्ञत्र यथाभूतस्स दस्सना? अनिच्चाय वेदनाय… अनिच्चाय सञ्ञाय… अनिच्चेहि सङ्खारेहि… अनिच्चेन विञ्ञाणेन दुक्खेन विपरिणामधम्मेन ‘सेय्योहमस्मी’तिपि न समनुपस्सन्ति; ‘सदिसोहमस्मी’तिपि न समनुपस्सन्ति; ‘हीनोहमस्मी’तिपि न समनुपस्सन्ति; किमञ्ञत्र यथाभूतस्स दस्सना?
‘‘तं किं मञ्ञसि, सोण, रूपं निच्चं वा अनिच्चं वा’’ति? ‘‘अनिच्चं, भन्ते’’। ‘‘यं पनानिच्चं दुक्खं वा तं सुखं वा’’ति? ‘‘दुक्खं, भन्ते’’। ‘‘यं पनानिच्चं दुक्खं विपरिणामधम्मं कल्लं नु तं समनुपस्सितुं – ‘एतं मम, एसोहमस्मि, एसो मे अत्ता’’’ति? ‘‘नो हेतं, भन्ते’’। ‘‘वेदना निच्चा वा अनिच्चा वा’’ति? ‘‘अनिच्चा, भन्ते’’… ‘‘सञ्ञा… सङ्खारा… विञ्ञाणं निच्चं वा अनिच्चं वा’’ति? ‘‘अनिच्चं, भन्ते’’। ‘‘यं पनानिच्चं दुक्खं वा तं सुखं वा’’ति? ‘‘दुक्खं, भन्ते’’। ‘‘यं पनानिच्चं दुक्खं विपरिणामधम्मं कल्लं नु तं समनुपस्सितुं – ‘एतं मम, एसोहमस्मि, एसो मे अत्ता’’’ति? ‘‘नो हेतं, भन्ते’’।
‘‘तस्मातिह , सोण, यं किञ्चि रूपं अतीतानागतपच्चुप्पन्नं अज्झत्तं वा बहिद्धा वा ओळारिकं वा सुखुमं वा हीनं वा पणीतं वा यं दूरे सन्तिके वा, सब्बं रूपं ‘नेतं मम, नेसोहमस्मि, न मेसो अत्ता’ति एवमेतं यथाभूतं सम्मप्पञ्ञाय दट्ठब्बं।
‘‘या काचि वेदना… या काचि सञ्ञा… ये केचि सङ्खारा… यं किञ्चि विञ्ञाणं अतीतानागतपच्चुप्पन्नं अज्झत्तं वा बहिद्धा वा ओळारिकं वा सुखुमं वा हीनं वा पणीतं वा यं दूरे सन्तिके वा, सब्बं विञ्ञाणं ‘नेतं मम, नेसोहमस्मि, न मेसो अत्ता’ति एवमेतं यथाभूतं सम्मप्पञ्ञाय दट्ठब्बं।
‘‘एवं पस्सं, सोण, सुतवा अरियसावको रूपस्मिम्पि निब्बिन्दति, वेदनायपि निब्बिन्दति, सञ्ञायपि निब्बिन्दति, सङ्खारेसुपि निब्बिन्दति, विञ्ञाणस्मिम्पि निब्बिन्दति। निब्बिन्दं विरज्जति; विरागा विमुच्चति। विमुत्तस्मिं विमुत्तमिति ञाणं होति। ‘खीणा जाति, वुसितं ब्रह्मचरियं, कतं करणीयं, नापरं इत्थत्ताया’ति पजानाती’’ति। सत्तमं।
๗. อนตฺตลกฺขณสุตฺตํ
๕๙. เอกํ สมยํ ภควา พาราณสิยํ วิหรติ อิสิปตเน มิคทาเยฯ ตตฺร โข ภควา ปญฺจวคฺคิเย ภิกฺขู อามเนฺตสิ – ‘‘ภิกฺขโว’’ติฯ ‘‘ภทเนฺต’’ติ เต ภิกฺขู ภควโต ปจฺจโสฺสสํฯ ภควา เอตทโวจ –
‘‘รูปํ, ภิกฺขเว, อนตฺตาฯ รูปญฺจ หิทํ, ภิกฺขเว, อตฺตา อภวิสฺส, นยิทํ รูปํ อาพาธาย สํวเตฺตยฺย, ลเพฺภถ จ รูเป – ‘เอวํ เม รูปํ โหตุ, เอวํ เม รูปํ มา อโหสี’ติฯ ยสฺมา จ โข, ภิกฺขเว, รูปํ อนตฺตา, ตสฺมา รูปํ อาพาธาย สํวตฺตติ, น จ ลพฺภติ รูเป – ‘เอวํ เม รูปํ โหตุ, เอวํ เม รูปํ มา อโหสี’’’ติฯ
‘‘เวทนา อนตฺตาฯ เวทนา จ หิทํ, ภิกฺขเว, อตฺตา อภวิสฺส, นยิทํ เวทนา อาพาธาย สํวเตฺตยฺย, ลเพฺภถ จ เวทนาย – ‘เอวํ เม เวทนา โหตุ, เอวํ เม เวทนา มา อโหสี’ติฯ ยสฺมา จ โข, ภิกฺขเว, เวทนา อนตฺตา, ตสฺมา เวทนา อาพาธาย สํวตฺตติ , น จ ลพฺภติ เวทนาย – ‘เอวํ เม เวทนา โหตุ, เอวํ เม เวทนา มา อโหสี’’’ติฯ
‘‘สญฺญา อนตฺตา…เป.… สงฺขารา อนตฺตาฯ สงฺขารา จ หิทํ, ภิกฺขเว, อตฺตา อภวิสฺสํสุ, นยิทํ สงฺขารา อาพาธาย สํวเตฺตยฺยํ, ลเพฺภถ จ สงฺขาเรสุ – ‘เอวํ เม สงฺขารา โหนฺตุ, เอวํ เม สงฺขารา มา อเหสุ’นฺติฯ ยสฺมา จ โข, ภิกฺขเว, สงฺขารา อนตฺตา, ตสฺมา สงฺขารา อาพาธาย สํวตฺตนฺติ, น จ ลพฺภติ สงฺขาเรสุ – ‘เอวํ เม สงฺขารา โหนฺตุ, เอวํ เม สงฺขารา มา อเหสุ’’’นฺติฯ
‘‘วิญฺญาณํ อนตฺตาฯ วิญฺญาณญฺจ หิทํ, ภิกฺขเว, อตฺตา อภวิสฺส, นยิทํ วิญฺญาณํ อาพาธาย สํวเตฺตยฺย, ลเพฺภถ จ วิญฺญาเณ – ‘เอวํ เม วิญฺญาณํ โหตุ, เอวํ เม วิญฺญาณํ มา อโหสี’ติฯ ยสฺมา จ โข, ภิกฺขเว, วิญฺญาณํ อนตฺตา, ตสฺมา วิญฺญาณํ อาพาธาย สํวตฺตติ, น จ ลพฺภติ วิญฺญาเณ – ‘เอวํ เม วิญฺญาณํ โหตุ, เอวํ เม วิญฺญาณํ มา อโหสี’’’ติฯ
‘‘ตํ กํ มญฺญถ, ภิกฺขเว, รูปํ นิจฺจํ วา อนิจฺจํ วา’’ติ? ‘‘อนิจฺจํ, ภเนฺต’’ฯ ‘‘ยํ ปนานิจฺจํ ทุกฺขํ วา ตํ สุขํ วา’’ติ? ‘‘ทุกฺขํ, ภเนฺต’’ฯ ‘‘ยํ ปนานิจฺจํ ทุกฺขํ วิปริณามธมฺมํ, กลฺลํ นุ ตํ สมนุปสฺสิตํ – ‘เอตํ มม, เอโสหมสฺมิ, เอโส เม อตฺตา’’’ติ? ‘‘โน เหตํ, ภเนฺต’’ฯ ‘‘เวทนา… สญฺญา… สงฺขารา… วิญฺญาณํ นิจฺจํ วา อนิจฺจํ วา’’ติ? ‘‘อนิจฺจํ, ภเนฺต’’ฯ ‘‘ยํ ปนานิจฺจํ ทุกฺขํ วา ตํ สุขํ วา’’ติ? ‘‘ทุกฺขํ , ภเนฺต’’ฯ ‘‘ยํ ปนานิจฺจํ ทุกฺขํ วิปริณามธมฺมํ, กลฺลํ นุ ตํ สมนุปสฺสิตํ – ‘เอตํ มม, เอโสหมสฺมิ, เอโส เม อตฺตา’’’ติ? ‘‘โน เหตํ, ภเนฺต’’ฯ
‘‘ตสฺมาติห, ภิกฺขเว, ยํ กิญฺจิ รูปํ อตีตานาคตปจฺจุปฺปนฺนํ อชฺฌตฺตํ วา พหิทฺธา วา โอฬาริกํ วา สุขุมํ วา หีนํ วา ปณีตํ วา ยํ ทูเร สนฺติเก วา, สพฺพํ รูปํ – ‘เนตํ มม, เนโสหมสฺมิ, น เมโส อตฺตา’ติ เอวเมตํ ยถาภูตํ สมฺมปฺปญฺญาย ทฎฺฐพฺพํฯ ยา กาจิ เวทนา อตีตานาคตปจฺจุปฺปนฺนา อชฺฌตฺตา วา พหิทฺธา วา…เป.… ยา ทูเร สนฺติเก วา, สพฺพา เวทนา – ‘เนตํ มม, เนโสหมสฺมิ, น เมโส อตฺตา’ติ เอวเมตํ ยถาภูตํ สมฺมปฺปญฺญาย ทฎฺฐพฺพํฯ
‘‘ยา กาจิ สญฺญา…เป.… เย เกจิ สงฺขารา อตีตานาคตปจฺจุปฺปนฺนา อชฺฌตฺตํ วา พหิทฺธา วา…เป.… เย ทูเร สนฺติเก วา, สเพฺพ สงฺขารา – ‘เนตํ มม, เนโสหมสฺมิ, น เมโส อตฺตา’ติ เอวเมตํ ยถาภูตํ สมฺมปฺปญฺญาย ทฎฺฐพฺพํฯ
‘‘ยํ กิญฺจิ วิญฺญาณํ อตีตานาคตปจฺจุปฺปนฺนํ อชฺฌตฺตํ วา พหิทฺธา วา โอฬาริกํ วา สุขุมํ วา หีนํ วา ปณีตํ วา ยํ ทูเร สนฺติเก วา, สพฺพํ วิญฺญาณํ – ‘เนตํ มม, เนโสหมสฺมิ, น เมโส อตฺตา’ติ เอวเมตํ ยถาภูตํ สมฺมปฺปญฺญาย ทฎฺฐพฺพํฯ
‘‘เอวํ ปสฺสํ, ภิกฺขเว, สุตวา อริยสาวโก รูปสฺมิมฺปิ นิพฺพินฺทติ, เวทนายปิ นิพฺพินฺทติ, สญฺญายปิ นิพฺพินฺทติ, สงฺขาเรสุปิ นิพฺพินฺทติ, วิญฺญาณสฺมิมฺปิ นิพฺพินฺทติฯ นิพฺพินฺทํ วิรชฺชติ; วิราคา วิมุจฺจติฯ วิมุตฺตสฺมํ วิมุตฺตมิติ ญาณํ โหติฯ ‘ขีณา ชาติ, วุสิตํ พฺรหฺมจริยํ, กตํ กรณียํ, นาปรํ อิตฺถตฺตายา’ติ ปชานาตี’’ติฯ
อิทมโวจ ภควาฯ อตฺตมนา ปญฺจวคฺคิยา ภิกฺขู ภควโต ภาสิตํ อภินนฺทํ [อภินนฺทุนฺติ (ก.)]ฯ
อิมสฺมิญฺจ ปน เวยฺยากรณสฺมํ ภญฺญมาเน ปญฺจวคฺคิยานํ ภิกฺขูนํ อนุปาทาย อาสเวหิ จิตฺตานิ วิมุจฺจํสูติฯ สตฺตมํฯ
ศึกษาอรรถกถานี้ ได้ที่ :-
http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=17&i=97
ว่าด้วยขันธ์ ๕ มิใช่ของเรา 11
[๙๗] ข้าพเจ้าได้สดับมาแล้วอย่างนี้ :-12
สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ พระวิหารเวฬุวัน13
กลันทกนิวาปสถาน กรุงราชคฤห์ ครั้งนั้นแล คฤหบดีบุตรชื่อโสณะ14
เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้าถึงที่ประทับ ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคเจ้า15
นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ครั้นแล้ว พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสกะ16
คฤหบดีบุตรชื่อโสณะว่า ดูก่อนโสณะ ก็สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใด17
เหล่าหนึ่ง ย่อมพิจารณาเห็นว่า เราเป็นผู้ประเสริฐกว่าเขา พิจารณา18
เห็นว่า เราเป็นผู้เสมอเขา หรือพิจารณาเห็นว่า เราเป็นผู้เลวกว่าเขา19
ด้วยรูปอันไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ที่เป็นดังนี้20
มิใช่อื่นไกล นอกจากการไม่เห็นธรรมตามความเป็นจริง ย่อมพิจารณา21
[พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค เล่ม ๓ - หน้าที่ 102]
เห็นว่า เราเป็นผู้ประเสริฐกว่าเขา พิจารณาเห็นว่า เราเป็นผู้เสมอเขา 1
หรือพิจารณาเห็นว่า เราเป็นผู้เลวกว่าเขา ด้วยเวทนาอันไม่เที่ยง...2
ด้วยสัญญาอันไม่เที่ยง... ด้วยสังขารอันไม่เที่ยง... ด้วยวิญญาณอัน 3
ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ที่เป็นดังนี้มิใช่อื่นไกล4
นอกจากการไม่เห็นธรรมตามความเป็นจริง.5
[๙๘] ดูก่อนโสณะ ก็สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใดเหล่าหนึ่ง6
ย่อมไม่พิจารณาเห็นว่า เราเป็นผู้ประเสริฐกว่าเขา ไม่พิจารณาเห็นว่า7
เราเป็นผู้เสมอเขา หรือไม่พิจารณาเห็นว่า เราเป็นผู้เลวกว่าเขา ด้วยรูป8
อันไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ที่เป็นดังนี้มิใช่9
อื่นไกล นอกจากการเห็นธรรมตามความเป็นจริง ย่อมไม่พิจารณา10
เห็นว่า เราเป็นผู้ประเสริฐกว่าเขา ไม่พิจารณาเห็นว่า เราเป็นผู้เสมอเขา11
หรือไม่พิจารณาเห็นว่า เราเป็นผู้เลวกว่าเขา ด้วยเวทนาอันไม่เที่ยง...12
ด้วยสัญญาอันไม่เที่ยง... ด้วยสังขารอันไม่เที่ยง... ด้วยวิญญาณอัน13
ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ที่เป็นดังนี้มิใช่อื่นไกล14
นอกจากการเห็นธรรมตามความเป็นจริง.15
[๙๙] พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสถามว่า ดูก่อนโสณะ ท่านจะ16
สำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน รูปเที่ยงหรือไม่เที่ยง ?17@
คฤหบดีบุตรชื่อ โสณะทูลว่า ไม่เที่ยงพระเจ้าข้า.18
พ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์หรือเป็นสุขเล่า ?19@
ส. เป็นทุกข์ พระเจ้าข้า.20
พ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยงเป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา21
ควรหรือหนอที่จะพิจารณาเห็นสิ่งนั้นว่า นั่นของเรา เราเป็นนั่น22
นั่นตัวตนของเรา ?23@
[พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค เล่ม ๓ - หน้าที่ 103]
ส. ข้อนั้นไม่ควรเลย พระเจ้าข้า. 1
พ. เวทนาเที่ยงหรือไม่เที่ยง ?2
ส. ไม่เที่ยง พระเจ้าข้า ฯลฯ3
พ. สัญญาเที่ยงหรือไม่เที่ยง ?4
ส. ไม่เที่ยง พระเจ้าข้า ฯลฯ5
พ. สังขารเที่ยงหรือไม่เที่ยง ?6
ส. ไม่เที่ยง พระเจ้าข้า ฯลฯ7
พ. วิญญาณเที่ยงหรือไม่เที่ยง ?8
ส. ไม่เที่ยง พระเจ้าข้า.9
พ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์หรือเป็นสุขเล่า ?10
ส. เป็นทุกข์ พระเจ้าข้า. 11
พ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา12
ควรหรือหนอที่จะพิจารณาเห็นสิ่งนั้นว่า นั่นของเรา เราเป็นนั่น13
นั่นตัวตนของเรา ?14
ส. ข้อนั้นไม่ควรเลย พระเจ้าข้า. 15
[๑๐๐] ดูก่อนโสณะ เพราะเหตุนั้นแล ท่านพึงเห็นด้วยปัญญา16
อันชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า รูปอย่างใดอย่างหนึ่ง เป็นอดีต17
อนาคต และปัจจุบัน เป็นภายในหรือภายนอก หยาบหรือละเอียด18
เลวหรือประณีต อยู่ในที่ไกลหรือใกล้ รูปทั้งหมด นั่นไม่ใช่ของเรา19
เราไม่เป็นนั่น นั่นไม่ใช่ตัวตนของเรา เวทนาอย่างใดอย่างหนึ่ง...20
สัญญาอย่างใดอย่างหนึ่ง... สังขารเหล่าใดเหล่าหนึ่ง... วิญญาณ21
[พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค เล่ม ๓ - หน้าที่ 104]
อย่างใดอย่างหนึ่ง เป็นอดีต อนาคต ปัจจุบัน เป็นภายในหรือภายนอก 1
หยาบหรือละเอียด เลวหรือประณีต อยู่ในที่ไกลหรือใกล้ วิญญาณ 2
ทั้งหมดนั่นไม่ใช่ของเรา เราไม่เป็นนั่น นั่นไม่ใช่ตัวตนของเรา. 3
ดูก่อนโสณะ อริยสาวกผู้ได้สดับแล้ว เห็นอยู่อย่างนี้ ย่อม4
เบื่อหน่ายแม้ในรูป แม้ในเวทนา แม้ในสัญญา แม้ในสังขาร แม้ใน5
วิญญาณ เมื่อเบื่อหน่ายย่อมคลายกำหนัด เพราะคลายกำหนัด จิตย่อม6
หลุดพ้น เมื่อจิตหลุดพ้นแล้ว ก็มีญาณหยั่งรู้ว่า หลุดพ้นแล้ว ย่อมทราบ7
ชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำทำเสร็จแล้ว8
กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี.9
จบ โสณสูตรที่ ๗10
७. सोणसुत्तं
४९. एवं मे सुतं – एकं समयं भगवा राजगहे विहरति वेळुवने कलन्दकनिवापे। अथ खो सोणो गहपतिपुत्तो येन भगवा तेनुपसङ्कमि …पे॰… एकमन्तं निसिन्नं खो सोणं गहपतिपुत्तं भगवा एतदवोच –
‘‘ये हि केचि, सोण, समणा वा ब्राह्मणा वा अनिच्चेन रूपेन दुक्खेन विपरिणामधम्मेन ‘सेय्योहमस्मी’ति वा समनुपस्सन्ति; ‘सदिसोहमस्मी’ति वा समनुपस्सन्ति; ‘हीनोहमस्मी’ति वा समनुपस्सन्ति; किमञ्ञत्र यथाभूतस्स अदस्सना? अनिच्चाय वेदनाय दुक्खाय विपरिणामधम्माय ‘सेय्योहमस्मी’ति वा समनुपस्सन्ति; ‘सदिसोहमस्मी’ति वा समनुपस्सन्ति; ‘हीनोहमस्मी’ति वा समनुपस्सन्ति; किमञ्ञत्र यथाभूतस्स अदस्सना? अनिच्चाय सञ्ञाय… अनिच्चेहि सङ्खारेहि दुक्खेहि विपरिणामधम्मेहि ‘सेय्योहमस्मी’ति वा समनुपस्सन्ति; ‘सदिसोहमस्मी’ति वा समनुपस्सन्ति; ‘हीनोहमस्मी’ति वा समनुपस्सन्ति; किमञ्ञत्र यथाभूतस्स अदस्सना? अनिच्चेन विञ्ञाणेन दुक्खेन विपरिणामधम्मेन ‘सेय्योहमस्मी’ति वा समनुपस्सन्ति; ‘सदिसोहमस्मी’ति वा समनुपस्सन्ति; ‘हीनोहमस्मी’ति वा समनुपस्सन्ति; किमञ्ञत्र यथाभूतस्स अदस्सना?
‘‘ये च खो केचि, सोण, समणा वा ब्राह्मणा वा अनिच्चेन रूपेन दुक्खेन विपरिणामधम्मेन ‘सेय्योहमस्मी’तिपि न समनुपस्सन्ति ; ‘सदिसोहमस्मी’तिपि न समनुपस्सन्ति ; ‘हीनोहमस्मी’तिपि न समनुपस्सन्ति; किमञ्ञत्र यथाभूतस्स दस्सना? अनिच्चाय वेदनाय… अनिच्चाय सञ्ञाय… अनिच्चेहि सङ्खारेहि… अनिच्चेन विञ्ञाणेन दुक्खेन विपरिणामधम्मेन ‘सेय्योहमस्मी’तिपि न समनुपस्सन्ति; ‘सदिसोहमस्मी’तिपि न समनुपस्सन्ति; ‘हीनोहमस्मी’तिपि न समनुपस्सन्ति; किमञ्ञत्र यथाभूतस्स दस्सना?
‘‘तं किं मञ्ञसि, सोण, रूपं निच्चं वा अनिच्चं वा’’ति? ‘‘अनिच्चं, भन्ते’’। ‘‘यं पनानिच्चं दुक्खं वा तं सुखं वा’’ति? ‘‘दुक्खं, भन्ते’’। ‘‘यं पनानिच्चं दुक्खं विपरिणामधम्मं कल्लं नु तं समनुपस्सितुं – ‘एतं मम, एसोहमस्मि, एसो मे अत्ता’’’ति? ‘‘नो हेतं, भन्ते’’। ‘‘वेदना निच्चा वा अनिच्चा वा’’ति? ‘‘अनिच्चा, भन्ते’’… ‘‘सञ्ञा… सङ्खारा… विञ्ञाणं निच्चं वा अनिच्चं वा’’ति? ‘‘अनिच्चं, भन्ते’’। ‘‘यं पनानिच्चं दुक्खं वा तं सुखं वा’’ति? ‘‘दुक्खं, भन्ते’’। ‘‘यं पनानिच्चं दुक्खं विपरिणामधम्मं कल्लं नु तं समनुपस्सितुं – ‘एतं मम, एसोहमस्मि, एसो मे अत्ता’’’ति? ‘‘नो हेतं, भन्ते’’।
‘‘तस्मातिह , सोण, यं किञ्चि रूपं अतीतानागतपच्चुप्पन्नं अज्झत्तं वा बहिद्धा वा ओळारिकं वा सुखुमं वा हीनं वा पणीतं वा यं दूरे सन्तिके वा, सब्बं रूपं ‘नेतं मम, नेसोहमस्मि, न मेसो अत्ता’ति एवमेतं यथाभूतं सम्मप्पञ्ञाय दट्ठब्बं।
‘‘या काचि वेदना… या काचि सञ्ञा… ये केचि सङ्खारा… यं किञ्चि विञ्ञाणं अतीतानागतपच्चुप्पन्नं अज्झत्तं वा बहिद्धा वा ओळारिकं वा सुखुमं वा हीनं वा पणीतं वा यं दूरे सन्तिके वा, सब्बं विञ्ञाणं ‘नेतं मम, नेसोहमस्मि, न मेसो अत्ता’ति एवमेतं यथाभूतं सम्मप्पञ्ञाय दट्ठब्बं।
‘‘एवं पस्सं, सोण, सुतवा अरियसावको रूपस्मिम्पि निब्बिन्दति, वेदनायपि निब्बिन्दति, सञ्ञायपि निब्बिन्दति, सङ्खारेसुपि निब्बिन्दति, विञ्ञाणस्मिम्पि निब्बिन्दति। निब्बिन्दं विरज्जति; विरागा विमुच्चति। विमुत्तस्मिं विमुत्तमिति ञाणं होति। ‘खीणा जाति, वुसितं ब्रह्मचरियं, कतं करणीयं, नापरं इत्थत्ताया’ति पजानाती’’ति। सत्तमं।
๗. อนตฺตลกฺขณสุตฺตํ
๕๙. เอกํ สมยํ ภควา พาราณสิยํ วิหรติ อิสิปตเน มิคทาเยฯ ตตฺร โข ภควา ปญฺจวคฺคิเย ภิกฺขู อามเนฺตสิ – ‘‘ภิกฺขโว’’ติฯ ‘‘ภทเนฺต’’ติ เต ภิกฺขู ภควโต ปจฺจโสฺสสํฯ ภควา เอตทโวจ –
‘‘รูปํ, ภิกฺขเว, อนตฺตาฯ รูปญฺจ หิทํ, ภิกฺขเว, อตฺตา อภวิสฺส, นยิทํ รูปํ อาพาธาย สํวเตฺตยฺย, ลเพฺภถ จ รูเป – ‘เอวํ เม รูปํ โหตุ, เอวํ เม รูปํ มา อโหสี’ติฯ ยสฺมา จ โข, ภิกฺขเว, รูปํ อนตฺตา, ตสฺมา รูปํ อาพาธาย สํวตฺตติ, น จ ลพฺภติ รูเป – ‘เอวํ เม รูปํ โหตุ, เอวํ เม รูปํ มา อโหสี’’’ติฯ
‘‘เวทนา อนตฺตาฯ เวทนา จ หิทํ, ภิกฺขเว, อตฺตา อภวิสฺส, นยิทํ เวทนา อาพาธาย สํวเตฺตยฺย, ลเพฺภถ จ เวทนาย – ‘เอวํ เม เวทนา โหตุ, เอวํ เม เวทนา มา อโหสี’ติฯ ยสฺมา จ โข, ภิกฺขเว, เวทนา อนตฺตา, ตสฺมา เวทนา อาพาธาย สํวตฺตติ , น จ ลพฺภติ เวทนาย – ‘เอวํ เม เวทนา โหตุ, เอวํ เม เวทนา มา อโหสี’’’ติฯ
‘‘สญฺญา อนตฺตา…เป.… สงฺขารา อนตฺตาฯ สงฺขารา จ หิทํ, ภิกฺขเว, อตฺตา อภวิสฺสํสุ, นยิทํ สงฺขารา อาพาธาย สํวเตฺตยฺยํ, ลเพฺภถ จ สงฺขาเรสุ – ‘เอวํ เม สงฺขารา โหนฺตุ, เอวํ เม สงฺขารา มา อเหสุ’นฺติฯ ยสฺมา จ โข, ภิกฺขเว, สงฺขารา อนตฺตา, ตสฺมา สงฺขารา อาพาธาย สํวตฺตนฺติ, น จ ลพฺภติ สงฺขาเรสุ – ‘เอวํ เม สงฺขารา โหนฺตุ, เอวํ เม สงฺขารา มา อเหสุ’’’นฺติฯ
‘‘วิญฺญาณํ อนตฺตาฯ วิญฺญาณญฺจ หิทํ, ภิกฺขเว, อตฺตา อภวิสฺส, นยิทํ วิญฺญาณํ อาพาธาย สํวเตฺตยฺย, ลเพฺภถ จ วิญฺญาเณ – ‘เอวํ เม วิญฺญาณํ โหตุ, เอวํ เม วิญฺญาณํ มา อโหสี’ติฯ ยสฺมา จ โข, ภิกฺขเว, วิญฺญาณํ อนตฺตา, ตสฺมา วิญฺญาณํ อาพาธาย สํวตฺตติ, น จ ลพฺภติ วิญฺญาเณ – ‘เอวํ เม วิญฺญาณํ โหตุ, เอวํ เม วิญฺญาณํ มา อโหสี’’’ติฯ
‘‘ตํ กํ มญฺญถ, ภิกฺขเว, รูปํ นิจฺจํ วา อนิจฺจํ วา’’ติ? ‘‘อนิจฺจํ, ภเนฺต’’ฯ ‘‘ยํ ปนานิจฺจํ ทุกฺขํ วา ตํ สุขํ วา’’ติ? ‘‘ทุกฺขํ, ภเนฺต’’ฯ ‘‘ยํ ปนานิจฺจํ ทุกฺขํ วิปริณามธมฺมํ, กลฺลํ นุ ตํ สมนุปสฺสิตํ – ‘เอตํ มม, เอโสหมสฺมิ, เอโส เม อตฺตา’’’ติ? ‘‘โน เหตํ, ภเนฺต’’ฯ ‘‘เวทนา… สญฺญา… สงฺขารา… วิญฺญาณํ นิจฺจํ วา อนิจฺจํ วา’’ติ? ‘‘อนิจฺจํ, ภเนฺต’’ฯ ‘‘ยํ ปนานิจฺจํ ทุกฺขํ วา ตํ สุขํ วา’’ติ? ‘‘ทุกฺขํ , ภเนฺต’’ฯ ‘‘ยํ ปนานิจฺจํ ทุกฺขํ วิปริณามธมฺมํ, กลฺลํ นุ ตํ สมนุปสฺสิตํ – ‘เอตํ มม, เอโสหมสฺมิ, เอโส เม อตฺตา’’’ติ? ‘‘โน เหตํ, ภเนฺต’’ฯ
‘‘ตสฺมาติห, ภิกฺขเว, ยํ กิญฺจิ รูปํ อตีตานาคตปจฺจุปฺปนฺนํ อชฺฌตฺตํ วา พหิทฺธา วา โอฬาริกํ วา สุขุมํ วา หีนํ วา ปณีตํ วา ยํ ทูเร สนฺติเก วา, สพฺพํ รูปํ – ‘เนตํ มม, เนโสหมสฺมิ, น เมโส อตฺตา’ติ เอวเมตํ ยถาภูตํ สมฺมปฺปญฺญาย ทฎฺฐพฺพํฯ ยา กาจิ เวทนา อตีตานาคตปจฺจุปฺปนฺนา อชฺฌตฺตา วา พหิทฺธา วา…เป.… ยา ทูเร สนฺติเก วา, สพฺพา เวทนา – ‘เนตํ มม, เนโสหมสฺมิ, น เมโส อตฺตา’ติ เอวเมตํ ยถาภูตํ สมฺมปฺปญฺญาย ทฎฺฐพฺพํฯ
‘‘ยา กาจิ สญฺญา…เป.… เย เกจิ สงฺขารา อตีตานาคตปจฺจุปฺปนฺนา อชฺฌตฺตํ วา พหิทฺธา วา…เป.… เย ทูเร สนฺติเก วา, สเพฺพ สงฺขารา – ‘เนตํ มม, เนโสหมสฺมิ, น เมโส อตฺตา’ติ เอวเมตํ ยถาภูตํ สมฺมปฺปญฺญาย ทฎฺฐพฺพํฯ
‘‘ยํ กิญฺจิ วิญฺญาณํ อตีตานาคตปจฺจุปฺปนฺนํ อชฺฌตฺตํ วา พหิทฺธา วา โอฬาริกํ วา สุขุมํ วา หีนํ วา ปณีตํ วา ยํ ทูเร สนฺติเก วา, สพฺพํ วิญฺญาณํ – ‘เนตํ มม, เนโสหมสฺมิ, น เมโส อตฺตา’ติ เอวเมตํ ยถาภูตํ สมฺมปฺปญฺญาย ทฎฺฐพฺพํฯ
‘‘เอวํ ปสฺสํ, ภิกฺขเว, สุตวา อริยสาวโก รูปสฺมิมฺปิ นิพฺพินฺทติ, เวทนายปิ นิพฺพินฺทติ, สญฺญายปิ นิพฺพินฺทติ, สงฺขาเรสุปิ นิพฺพินฺทติ, วิญฺญาณสฺมิมฺปิ นิพฺพินฺทติฯ นิพฺพินฺทํ วิรชฺชติ; วิราคา วิมุจฺจติฯ วิมุตฺตสฺมํ วิมุตฺตมิติ ญาณํ โหติฯ ‘ขีณา ชาติ, วุสิตํ พฺรหฺมจริยํ, กตํ กรณียํ, นาปรํ อิตฺถตฺตายา’ติ ปชานาตี’’ติฯ
อิทมโวจ ภควาฯ อตฺตมนา ปญฺจวคฺคิยา ภิกฺขู ภควโต ภาสิตํ อภินนฺทํ [อภินนฺทุนฺติ (ก.)]ฯ
อิมสฺมิญฺจ ปน เวยฺยากรณสฺมํ ภญฺญมาเน ปญฺจวคฺคิยานํ ภิกฺขูนํ อนุปาทาย อาสเวหิ จิตฺตานิ วิมุจฺจํสูติฯ สตฺตมํฯ
ศึกษาอรรถกถานี้ ได้ที่ :-
http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=17&i=97