จริงๆ คำว่า 南 (หนาน) เป็นคำที่จีนใช้เรียกดินแดนที่อยู่ทิศใต้ (ของศูนย์กลางอำนาจ ณ ขณะเวลานั้นๆ)
เช่น ไห่หนาน อวิ๋นหนาน (มณฑลยูนนาน) หูหนาน หนานจ้าว (น่านเจ้า) เย่ว์หนาน (เวียดนาม) ฯลฯ
คำว่า 南 (หนาน) จึงมีความหมายของตัวเอง ขณะเดียวกันคำว่า "-นม" จากพนม ก็มีความหมายของตัวเอง คือ ภูเขา
คำสองคำนี้จึงเป็นอิสระจากกัน ไม่เกี่ยวกันเลย
ถ้าจะสนใจความหมายจริงๆ ควรสนใจคำว่า 扶 (ฝู) มากกว่าค่ะ
แต่ก็นั่นแหละ มันอาจจะยากแก่การสืบค้น หรือบางทีไม่มีความหมายอะไรเลยก็ได้
นักประวัติศาสตร์บางกลุ่มจึงเอาง่ายเข้าว่า ด้วยการทึกทักเอาเลยว่า
ฝูหนาน / ฟูนัน ชาวจีนเรียกเพี้ยนจากคำว่า พนม/บนัม ซึ่งเป็นภาษาท้องถิ่น
??? อะไรดลใจให้นักประวัติศาสตร์บางกลุ่ม คิดว่า ฝูหนาน / ฟูนัน มาจากคำว่า พนม
เช่น ไห่หนาน อวิ๋นหนาน (มณฑลยูนนาน) หูหนาน หนานจ้าว (น่านเจ้า) เย่ว์หนาน (เวียดนาม) ฯลฯ
คำว่า 南 (หนาน) จึงมีความหมายของตัวเอง ขณะเดียวกันคำว่า "-นม" จากพนม ก็มีความหมายของตัวเอง คือ ภูเขา
คำสองคำนี้จึงเป็นอิสระจากกัน ไม่เกี่ยวกันเลย
ถ้าจะสนใจความหมายจริงๆ ควรสนใจคำว่า 扶 (ฝู) มากกว่าค่ะ
แต่ก็นั่นแหละ มันอาจจะยากแก่การสืบค้น หรือบางทีไม่มีความหมายอะไรเลยก็ได้
นักประวัติศาสตร์บางกลุ่มจึงเอาง่ายเข้าว่า ด้วยการทึกทักเอาเลยว่า ฝูหนาน / ฟูนัน ชาวจีนเรียกเพี้ยนจากคำว่า พนม/บนัม ซึ่งเป็นภาษาท้องถิ่น