คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 5
การยืมคำภาษาจีนมาใช้ในภาษาไทยนั้น มักยืมมาจากภาษาจีนแต้จิ๋วและภาษาจีนฮกเกี้ยนมากกว่าภาษาจีนสาขาอื่นเนื่องจากชาวจีนแต้จิ๋วและชาวจีนฮกเกี้ยนได้อพยพเข้ามาอยู่ในประเทศไทยก่อนชาวจีนกลุ่มอื่น
http://legacy.orst.go.th/?knowledges=คำภาษาจีนในภาษาไทย-๑
อ้างจากความคิดเห็นที่ 3 ถ้ามาบอกว่าใช้ชื่อเก่า(ดั้งเดิมกว่านั้นก็มีนะ)ในเอกสารทางราชการคงไม่ได้แล้ว แต่ถ้าในระดับชาวบ้านพูดกันอันนี้ก็อีกเรื่องข้อความนี้ ไม่ควรใช้เอามากๆว่า "ตามเกณฑ์ของราชบัณฑิตใช้ได้ทั้งชื่อดั้งเดิม(ถ้ามี)และชื่อจีนกลาง" ตามเกณฑ์ของราชบัณฑิตยฯ ไม่ได้บอกใช้ชื่อดั้งเดิมได้ แต่ถ้าจะใช้ก็ไม่ผิด แต่ถ้าราชบัณฑิตยฯ ได้กำหนดชื่อใหม่ตามที่เสนอคณะรัฐมนตรี มันก็ควรจะใช้ให้ถูกตามที่ราชบัณฑิตยฯเสนอถูกไหม
ติดใจ ตรงคำว่า ตามเกณฑ์นี่แหละ ไปตามเกณฑ์ตรงไหน ที่กล่าวมาก็แค่อยากจะแย้งว่า ถ้าคนปกติธรรมดาทั่วไปอยากจะใช้ชื่อเก่าหรือชื่อใหม่ก็ใช่ได้ แต่มันไม่ใช่ตามเกณฑ์ของราชบัณฑิตยฯ เอาคำว่า ตามเกณฑ์มาใช้มันเป็นการบอกว่า ราชบัณฑิตยฯกำหนดเป็นหลักเกณฑ์ มันไม่ถูกนะ
การเขียนชื่อหรือกำหนดชื่อประเทศ ดินแดน เขตการปกครอง และเมืองหลวง ตามที่ สำนักงานราชบัณฑิตยสภา ได้เสนอคณะรัฐมนตรี ได้พิจารณาแล้วมีมติเมื่อวันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2565 เห็นชอบให้ใช้ประกาศสำนักงานราชบัณฑิตยสภา เรื่อง กำหนดชื่อประเทศ ดินแดน เขตการปกครอง และเมืองหลวง ลงวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2565 เพื่อให้ทางราชการถือปฏิบัติเป็นมาตรฐานเดียวกันและให้ยกเลิกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง กำหนดชื่อประเทศ ดินแดน เขตการปกครองและเมืองหลวง ลงวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2544
สรุปก็คือให้ถือ ประกาศสํานักนายกรัฐมนตรีโดยสำนักงานราชบัณฑิตยสภาที่ลงในราชกิจจานุเบกษา(ตีพิมพ์ให้ทราบและใช้ในราชอาณาจักร ตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป) เรื่อง กำหนดชื่อประเทศ ดินแดน เขตการปกครอง และเมืองหลวง ลงวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2565 เป็นหลัก(เพื่อให้ทางราชการถือปฏิบัติเป็นมาตรฐานเดียวกัน) ก็ต้องไปดูในบัญชีแนบท้ายว่า สำนักงานราชบัณฑิตยสภา แก้ไขชื่อประเทศโน้นประเทศนี้อะไรยังไง
http://legacy.orst.go.th/?knowledges=คำภาษาจีนในภาษาไทย-๑
อ้างจากความคิดเห็นที่ 3 ถ้ามาบอกว่าใช้ชื่อเก่า(ดั้งเดิมกว่านั้นก็มีนะ)ในเอกสารทางราชการคงไม่ได้แล้ว แต่ถ้าในระดับชาวบ้านพูดกันอันนี้ก็อีกเรื่องข้อความนี้ ไม่ควรใช้เอามากๆว่า "ตามเกณฑ์ของราชบัณฑิตใช้ได้ทั้งชื่อดั้งเดิม(ถ้ามี)และชื่อจีนกลาง" ตามเกณฑ์ของราชบัณฑิตยฯ ไม่ได้บอกใช้ชื่อดั้งเดิมได้ แต่ถ้าจะใช้ก็ไม่ผิด แต่ถ้าราชบัณฑิตยฯ ได้กำหนดชื่อใหม่ตามที่เสนอคณะรัฐมนตรี มันก็ควรจะใช้ให้ถูกตามที่ราชบัณฑิตยฯเสนอถูกไหม
ติดใจ ตรงคำว่า ตามเกณฑ์นี่แหละ ไปตามเกณฑ์ตรงไหน ที่กล่าวมาก็แค่อยากจะแย้งว่า ถ้าคนปกติธรรมดาทั่วไปอยากจะใช้ชื่อเก่าหรือชื่อใหม่ก็ใช่ได้ แต่มันไม่ใช่ตามเกณฑ์ของราชบัณฑิตยฯ เอาคำว่า ตามเกณฑ์มาใช้มันเป็นการบอกว่า ราชบัณฑิตยฯกำหนดเป็นหลักเกณฑ์ มันไม่ถูกนะ
การเขียนชื่อหรือกำหนดชื่อประเทศ ดินแดน เขตการปกครอง และเมืองหลวง ตามที่ สำนักงานราชบัณฑิตยสภา ได้เสนอคณะรัฐมนตรี ได้พิจารณาแล้วมีมติเมื่อวันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2565 เห็นชอบให้ใช้ประกาศสำนักงานราชบัณฑิตยสภา เรื่อง กำหนดชื่อประเทศ ดินแดน เขตการปกครอง และเมืองหลวง ลงวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2565 เพื่อให้ทางราชการถือปฏิบัติเป็นมาตรฐานเดียวกันและให้ยกเลิกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง กำหนดชื่อประเทศ ดินแดน เขตการปกครองและเมืองหลวง ลงวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2544
สรุปก็คือให้ถือ ประกาศสํานักนายกรัฐมนตรีโดยสำนักงานราชบัณฑิตยสภาที่ลงในราชกิจจานุเบกษา(ตีพิมพ์ให้ทราบและใช้ในราชอาณาจักร ตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป) เรื่อง กำหนดชื่อประเทศ ดินแดน เขตการปกครอง และเมืองหลวง ลงวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2565 เป็นหลัก(เพื่อให้ทางราชการถือปฏิบัติเป็นมาตรฐานเดียวกัน) ก็ต้องไปดูในบัญชีแนบท้ายว่า สำนักงานราชบัณฑิตยสภา แก้ไขชื่อประเทศโน้นประเทศนี้อะไรยังไง
แสดงความคิดเห็น
ภาษาไทยเรียกชื่อเมืองในจีน เป็นสำเนียงอะไร
สำเนียงอะไรครับ
เป่ยจิง ช่างไห่ หนานจิง กว่างตง ซื่อชวน ฯลฯ
สำเนียงอะไรครับ
ปัจจุบันราชบัณฑิตฯ กำหนดใช้ตามสำเนียงไหนครับ