ประเด็นที่เปรียบเทียบ--> ความในพรบ. , การเริ่ม, การเห็นชอบ, เกณฑ์การเลือก, วิธีการเลือก, และการนำขึ้นทูลเกล้าฯ.. สรุปเป็นรูปภาพตารางจะได้ชัดเจนหน่อย (ภาพขนาดใหญ่ แสดงไม่หมดใน A4... หากเห็นไม่ชัดโปรดใช้เมาส์คลิกขวาที่ภาพ แล้วเลือกเปิดภาพในแท็บใหม่)
ที่เข้าใจผิดกันมากก็คือ มส "เริ่ม" ได้หรือไม่ เรียกประชุมถูกกฎหมายก็ประชุมไปตามภารกิจสงฆ์ปกติ
แต่ไม่ได้หมายความว่าเรียกประชุมถูกต้อง ผลการหารือจะใช้งานได้ตามไปด้วยนี่ครับ.. ถ้าหากเรื่องที่ประชุมเป็นการผิดขั้นตอนที่อยู่นอกเหนือขอบเขตอำนาจ.. ประชุมถูกต้องกี่ครั้งผลมติก็ฟาล์วทุกครั้ง แม้จะรับรองถูกต้องก็ตาม
กฎมหาเถรฯ ไม่ครอบคลุมถึงกรณีการดำเนินการให้ได้มาซึ่งสังฆราชแน่นอน.. เริ่มเองไม่ได้ เพราะตำแหน่งพระสังฆราชเป็นการสถาปนาโดยพระราชอำนาจ ซึ่งยังไม่มีที่ใดกำหนดในพรบ.ว่าให้ มส "เสนอ" แต่มีให้ "เห็นชอบ" เท่านั้น.. อำนาจสิทธิต่างๆ ในการ "เสนอ" แม้ไม่ได้ระบุชัดเจนก็ต้องถือว่าเป็นของฝ่ายอาณาจักรในการเริ่มก่อนเหมือนทุกครั้งที่ผ่านมาในอดีต
เหมือนการเลือกตั้งผู้แทน.. สุดท้ายแม้พวกเราก็เป็นผู้เลือกผู้แทนของเรา แต่อยู่ๆ จะเรียกประชุมเองโดยที่ประชุมกำนันผู้ใหญ่บ้านอย่างถูกต้องแล้วเสนอชื่อผู้แทนขึ้นไปก็ย่อมฟาล์วทุกครั้ง.. ต้องมีการเขี่ยลูกเริ่มต้นอย่างเป็น "ทางการ" จากฝ่ายรัฐประกาศกำหนดการเริ่มต้นเสียก่อนจึงจะเลือกผู้แทนได้
การเริ่มกระบวนการประชุมของ มส ในเรื่องนี้ก็เช่นเดียวกัน ต้องมีต้นเรื่องจากฝ่ายอาณาจักรครับ เพราะเป็นตำแหน่งที่ฝ่ายอาณาจักรสถาปนาตั้งขึ้น ประเทศอเมริกาก็ทำไม่ได้ ต้องประเทศไทยโดยพระราชอำนาจเท่านั้น.. ฝ่ายอาณาจักรให้เกียรติฝ่ายศาสนจักรก็ถามเข้ามาก่อน แต่เสนอเรื่องไปก่อนนี่น่าเกลียดครับ แถมลับๆ ล่อๆ อีกต่างหาก
เปรียบเทียบกันให้เห็นชัดๆ นะครับ
ข้อมูลที่ถูกต้อง : เปรียบเทียบการได้มาซึ่งสังฆราชองค์ที่ 19-20 และจุฬาราขมนตรี
ที่เข้าใจผิดกันมากก็คือ มส "เริ่ม" ได้หรือไม่ เรียกประชุมถูกกฎหมายก็ประชุมไปตามภารกิจสงฆ์ปกติ
แต่ไม่ได้หมายความว่าเรียกประชุมถูกต้อง ผลการหารือจะใช้งานได้ตามไปด้วยนี่ครับ.. ถ้าหากเรื่องที่ประชุมเป็นการผิดขั้นตอนที่อยู่นอกเหนือขอบเขตอำนาจ.. ประชุมถูกต้องกี่ครั้งผลมติก็ฟาล์วทุกครั้ง แม้จะรับรองถูกต้องก็ตาม
กฎมหาเถรฯ ไม่ครอบคลุมถึงกรณีการดำเนินการให้ได้มาซึ่งสังฆราชแน่นอน.. เริ่มเองไม่ได้ เพราะตำแหน่งพระสังฆราชเป็นการสถาปนาโดยพระราชอำนาจ ซึ่งยังไม่มีที่ใดกำหนดในพรบ.ว่าให้ มส "เสนอ" แต่มีให้ "เห็นชอบ" เท่านั้น.. อำนาจสิทธิต่างๆ ในการ "เสนอ" แม้ไม่ได้ระบุชัดเจนก็ต้องถือว่าเป็นของฝ่ายอาณาจักรในการเริ่มก่อนเหมือนทุกครั้งที่ผ่านมาในอดีต
เหมือนการเลือกตั้งผู้แทน.. สุดท้ายแม้พวกเราก็เป็นผู้เลือกผู้แทนของเรา แต่อยู่ๆ จะเรียกประชุมเองโดยที่ประชุมกำนันผู้ใหญ่บ้านอย่างถูกต้องแล้วเสนอชื่อผู้แทนขึ้นไปก็ย่อมฟาล์วทุกครั้ง.. ต้องมีการเขี่ยลูกเริ่มต้นอย่างเป็น "ทางการ" จากฝ่ายรัฐประกาศกำหนดการเริ่มต้นเสียก่อนจึงจะเลือกผู้แทนได้
การเริ่มกระบวนการประชุมของ มส ในเรื่องนี้ก็เช่นเดียวกัน ต้องมีต้นเรื่องจากฝ่ายอาณาจักรครับ เพราะเป็นตำแหน่งที่ฝ่ายอาณาจักรสถาปนาตั้งขึ้น ประเทศอเมริกาก็ทำไม่ได้ ต้องประเทศไทยโดยพระราชอำนาจเท่านั้น.. ฝ่ายอาณาจักรให้เกียรติฝ่ายศาสนจักรก็ถามเข้ามาก่อน แต่เสนอเรื่องไปก่อนนี่น่าเกลียดครับ แถมลับๆ ล่อๆ อีกต่างหาก
เปรียบเทียบกันให้เห็นชัดๆ นะครับ