ตอนที่ทราบข่าวว่าประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาสามารถให้อภัยโทษได้ รู้สึกแปลกใจเพราะไม่คิดว่าสหรัฐอเมริกาจะมีอะไรแบบนี้ด้วย เพิ่งมาทราบว่า ผู้ร่างรัฐธรรมนูญของสหรัฐอเมริกาลอกแบบอย่างมาจากการพระราชทานอภัยโทษโดยกษัตริย์ของสหราชอาณาจักร ข้อยกเว้นก็คล้ายกันด้วย เช่น ไม่มีการอภัยโทษกรณีการถูกถอดถอน ตามข้อความในสปอยล์
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้สหราชอาณาจักร
Act of Settlement 1701:
Eighth, that "no Pardon under the Great Seal of England be pleadable to an Impeachment by the Commons in Parliament". This meant in effect that no pardon by the monarch was to save someone from being impeached by the House of Commons.
ที่มา: https://en.wikipedia.org/wiki/Act_of_Settlement_1701
สหรัฐอเมริกา
Constitutional Basis:
The pardon power of the president is based on Article II, Section 2, Clause 1 of the U.S. Constitution, which provides:
The President ... shall have Power to grant Reprieves and Pardons for Offenses against the United States, except in Cases of impeachment.
ที่มา: https://en.wikipedia.org/wiki/Federal_pardons_in_the_United_States
สำหรับสหรัฐอเมริกา ประธานาธิบดีมีอำนาจในการอภัยโทษ (Pardon Power) ตามที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ
ส่วนสหราชอาณาจักร กษัตริย์มีอำนาจในการพระราชทานอภัยโทษ แต่มักทำตามคำแนะนำของรัฐบาล อย่างเช่น
- ทำตามคำแนะนำของรัฐมนตรีกระทรวงยุติธรรม (Secretary of State for Justice) ในอังกฤษและเวลส์
- ทำตามคำแนะนำของรัฐบาลในสกอตแลนด์ (Scottish Ministers)
เท่าที่ค้นข้อมูลดู ฝั่งสหราชอาณาจักรไม่ค่อยมีประเด็นการอภัยโทษที่ถูกวิพากษ์วิจารณ์แบบฝั่งสหรัฐอเมริกา อย่างเช่น กรณีที่ไบเดนใช้อำนาจของตัวเองอภัยโทษให้ลูกชาย (หรือว่าฝั่งสหราชอาณาจักรก็อาจจะมีเช่นกัน แต่ผมค้นไม่เจอ) ส่วนตัวมองว่าฝั่งสหราชอาณาจักรต้องยื่นขอให้กษัตริย์เป็นผู้พระราชทานอภัยโทษ จึงต้องมีการพิจารณาอย่างรัดกุมกว่า
พอดีเพิ่งอ่านเจอมา ฝั่งสหราชอาณาจักรเคยมีกรณีการอภัยโทษให้ผู้ที่เสียชีวิตไปแล้ว คนไทยที่อยู่อังกฤษมานานอาจจะพอทราบเพราะผ่านมาหลายปีแล้ว
การอภัยโทษในสหรัฐอเมริกา กับ การอภัยโทษในสหราชอาณาจักร
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
สำหรับสหรัฐอเมริกา ประธานาธิบดีมีอำนาจในการอภัยโทษ (Pardon Power) ตามที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ
ส่วนสหราชอาณาจักร กษัตริย์มีอำนาจในการพระราชทานอภัยโทษ แต่มักทำตามคำแนะนำของรัฐบาล อย่างเช่น
- ทำตามคำแนะนำของรัฐมนตรีกระทรวงยุติธรรม (Secretary of State for Justice) ในอังกฤษและเวลส์
- ทำตามคำแนะนำของรัฐบาลในสกอตแลนด์ (Scottish Ministers)
เท่าที่ค้นข้อมูลดู ฝั่งสหราชอาณาจักรไม่ค่อยมีประเด็นการอภัยโทษที่ถูกวิพากษ์วิจารณ์แบบฝั่งสหรัฐอเมริกา อย่างเช่น กรณีที่ไบเดนใช้อำนาจของตัวเองอภัยโทษให้ลูกชาย (หรือว่าฝั่งสหราชอาณาจักรก็อาจจะมีเช่นกัน แต่ผมค้นไม่เจอ) ส่วนตัวมองว่าฝั่งสหราชอาณาจักรต้องยื่นขอให้กษัตริย์เป็นผู้พระราชทานอภัยโทษ จึงต้องมีการพิจารณาอย่างรัดกุมกว่า
พอดีเพิ่งอ่านเจอมา ฝั่งสหราชอาณาจักรเคยมีกรณีการอภัยโทษให้ผู้ที่เสียชีวิตไปแล้ว คนไทยที่อยู่อังกฤษมานานอาจจะพอทราบเพราะผ่านมาหลายปีแล้ว