พุทธพจน์
สัพเพ ธัมมา อนัตาติ หมายความว่า ธรรมทั้งหลายไม่ใช่ตัวตน
ไม่ได้หมายความว่า "ธรรมทั้งหลายว่างเปล่า" หรือ แปลว่า "ไม่มี"
ถ้าจะแปลว่า "ธรรมทั้งหลายว่างเปล่า" ต้องเขียนว่า สัพเพ ธัมมา สุญญตา
ดังนั้น การสรุป พุทธพจน์ ที่กล่าวว่า สัพเพ ธัมมา อนัตาติ จึงใช้เป็น ข้ออ้างในการ สรุปพระธรรมคำสอน ทั้งหมด
หมายความว่า ธรรมที่ ไม่มี หรือ ว่างเปล่า ไม่ได้ เพราะคำว่าไม่ใช่ ตัวตน ไม่ได้แปลว่า มี หรือ ไม่มี
นัยยะ ของคำว่า ไม่ใช่ตัวตน คือ เราไปยึดมั่นถือมั่น ว่าเป็นสิ่งใด สิ่งหนึ่งไม่ได้
และ เราไปยึดมั่น ถือมั่น หมายเอาว่า เป็นความว่างเปล่า หรือ ไม่มี ก็ไม่ได้อีก ไม่ ตรงกับ พุทธพจน์
บทว่า สพฺเพ ธมฺมา ความว่า ท่านกล่าวทำแม้พระนิพพานไว้ภายใน.
บทว่า อนตฺตา ความว่า เพราะอรรถว่า ไม่เป็นไปในอำนาจ.
ชื่อว่า อนตฺตา เพราะอรรถว่า ไม่เป็นไปตามอำนาจ
คำว่าไม่เป็นไปตามอำนาจ มีปรากฏ ตอน ที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงชนะ สัจจกนิครนถ์ ด้วยพระปัญญาบารมี
http://www.dharma-gateway.com/monk/preach/somdej/somdej-13-06.htm
จากข้อความด้านบน สัเพ ธัมมา อนัตตา แปลรวมความจากข้อความด้านบท คือ นิพพาน ไม่เป็นไปตามอำนาจ
และในทาง วิปัสสนา คำว่า อนัตตา คือ ไม่เป็นไปตามอำนาจ เป็น ศัพย์ในทางปฏิบัติ เช่นเราไม่ สามารถ บังคับให้ ไม่ทุกข์ ไม่ได้
เราไม่สามารถ บังคับให้ ไม่แก่ไม่ได้
เราไม่สามารถ บังคับให้ ไม่ตายไม่ได้
ที่ ไม่เป็นไปตามอำนาจ เพระว่าเข้าไปยึดมั่นถือมั่นบังคับในสิ่งนั้นไม่ได้ คือมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอด เมื่อเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอด
จึง ไม่ใช่ตัวตน
ดังนั้น ไม่เป็นไปตามอำนาจ = ไม่ใช่ตัวตน
สัพเพ ธัมมา แปลว่า ธรรมทั้งหลาย รวม ถึงพระนิพพานด้วย
ถ้าแปลว่า สัพเพ ธัมมา อนัตตา หมายถึง ธรรมทั้งหลายไม่เป็นไปตามอำนาจ ก็ฟังยาก ในบริบทของพระนิพพาน
แต่ถ้าแปลว่า สัพเพ ธัมมา อนัตตา หมายถึง ธรรมทั้งหลายไม่ใช่ตัวตน ก็จะเข้าใจง่ายขึ้น
อนึ่งต้องทำความเข้าใจว่า การอธิบายในบริบทนี้ พระอรรถาจารย์ท่าน อธิบาย อนัตตา โดย พุทธประวัติ และรากศัพย์ ของการปฏิบัติในทางวิปัสสนา
ประเด็นที่สอง
ไม่เป็นไปตามอำนาจ เพระว่าเข้าไปยึดมั่นถือมั่นบังคับในสิ่งนั้นไม่ได้ คือมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอด เมื่อเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอด
จึง ไม่ใช่ตัวตน
ความเปลี่ยนแปลง = ความไม่ใช่ตัวตน
สัพเพ ธัมมา อนัตตา จะ อธิบาย สภาวะของ นิพพาน อย่างไรในกรณีนี้
เพราะ นิพพาน เป็น อสังขัตตยะธรรม หลุดพ้นจาก ทุกขัง อนิจจัง อนัตตา คือหลุดพ้นจาก ไตรลักษณ์
ดังนั้น อนัตตา จึงมีสองลักษณะ คือ
ความไม่ใช่ตัวตน ในโลกียะ และยังตกอยู่ในกฏของไตรลักษณ์
และ อนัตตา คือความไม่ใช่ ตัวตน ในโลกุตระ ที่ อยู่เหนือ กฏของ ไตรลักษณ์ (นิพพาน)
ดังนั้น อนัตตา จึงมีทั้งสองลักษณะ คือ ความไม่ใช่ตัวตน ทั้ง สังขตธรรม และ อสังขตธรรม
นิพพานในความหมาย ของ สัพเพ ธัมมา อนัตตาติ
สัพเพ ธัมมา อนัตาติ หมายความว่า ธรรมทั้งหลายไม่ใช่ตัวตน
ไม่ได้หมายความว่า "ธรรมทั้งหลายว่างเปล่า" หรือ แปลว่า "ไม่มี"
ถ้าจะแปลว่า "ธรรมทั้งหลายว่างเปล่า" ต้องเขียนว่า สัพเพ ธัมมา สุญญตา
ดังนั้น การสรุป พุทธพจน์ ที่กล่าวว่า สัพเพ ธัมมา อนัตาติ จึงใช้เป็น ข้ออ้างในการ สรุปพระธรรมคำสอน ทั้งหมด
หมายความว่า ธรรมที่ ไม่มี หรือ ว่างเปล่า ไม่ได้ เพราะคำว่าไม่ใช่ ตัวตน ไม่ได้แปลว่า มี หรือ ไม่มี
นัยยะ ของคำว่า ไม่ใช่ตัวตน คือ เราไปยึดมั่นถือมั่น ว่าเป็นสิ่งใด สิ่งหนึ่งไม่ได้
และ เราไปยึดมั่น ถือมั่น หมายเอาว่า เป็นความว่างเปล่า หรือ ไม่มี ก็ไม่ได้อีก ไม่ ตรงกับ พุทธพจน์
บทว่า สพฺเพ ธมฺมา ความว่า ท่านกล่าวทำแม้พระนิพพานไว้ภายใน.
บทว่า อนตฺตา ความว่า เพราะอรรถว่า ไม่เป็นไปในอำนาจ.
ชื่อว่า อนตฺตา เพราะอรรถว่า ไม่เป็นไปตามอำนาจ
คำว่าไม่เป็นไปตามอำนาจ มีปรากฏ ตอน ที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงชนะ สัจจกนิครนถ์ ด้วยพระปัญญาบารมีhttp://www.dharma-gateway.com/monk/preach/somdej/somdej-13-06.htm
จากข้อความด้านบน สัเพ ธัมมา อนัตตา แปลรวมความจากข้อความด้านบท คือ นิพพาน ไม่เป็นไปตามอำนาจ
และในทาง วิปัสสนา คำว่า อนัตตา คือ ไม่เป็นไปตามอำนาจ เป็น ศัพย์ในทางปฏิบัติ เช่นเราไม่ สามารถ บังคับให้ ไม่ทุกข์ ไม่ได้
เราไม่สามารถ บังคับให้ ไม่แก่ไม่ได้
เราไม่สามารถ บังคับให้ ไม่ตายไม่ได้
ที่ ไม่เป็นไปตามอำนาจ เพระว่าเข้าไปยึดมั่นถือมั่นบังคับในสิ่งนั้นไม่ได้ คือมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอด เมื่อเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอด
จึง ไม่ใช่ตัวตน
ดังนั้น ไม่เป็นไปตามอำนาจ = ไม่ใช่ตัวตน
สัพเพ ธัมมา แปลว่า ธรรมทั้งหลาย รวม ถึงพระนิพพานด้วย
ถ้าแปลว่า สัพเพ ธัมมา อนัตตา หมายถึง ธรรมทั้งหลายไม่เป็นไปตามอำนาจ ก็ฟังยาก ในบริบทของพระนิพพาน
แต่ถ้าแปลว่า สัพเพ ธัมมา อนัตตา หมายถึง ธรรมทั้งหลายไม่ใช่ตัวตน ก็จะเข้าใจง่ายขึ้น
อนึ่งต้องทำความเข้าใจว่า การอธิบายในบริบทนี้ พระอรรถาจารย์ท่าน อธิบาย อนัตตา โดย พุทธประวัติ และรากศัพย์ ของการปฏิบัติในทางวิปัสสนา
ประเด็นที่สอง
ไม่เป็นไปตามอำนาจ เพระว่าเข้าไปยึดมั่นถือมั่นบังคับในสิ่งนั้นไม่ได้ คือมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอด เมื่อเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอด
จึง ไม่ใช่ตัวตน
ความเปลี่ยนแปลง = ความไม่ใช่ตัวตน
สัพเพ ธัมมา อนัตตา จะ อธิบาย สภาวะของ นิพพาน อย่างไรในกรณีนี้
เพราะ นิพพาน เป็น อสังขัตตยะธรรม หลุดพ้นจาก ทุกขัง อนิจจัง อนัตตา คือหลุดพ้นจาก ไตรลักษณ์
ดังนั้น อนัตตา จึงมีสองลักษณะ คือ
ความไม่ใช่ตัวตน ในโลกียะ และยังตกอยู่ในกฏของไตรลักษณ์
และ อนัตตา คือความไม่ใช่ ตัวตน ในโลกุตระ ที่ อยู่เหนือ กฏของ ไตรลักษณ์ (นิพพาน)
ดังนั้น อนัตตา จึงมีทั้งสองลักษณะ คือ ความไม่ใช่ตัวตน ทั้ง สังขตธรรม และ อสังขตธรรม