ผมจำเป็นต้อง นำ กระทู้เรื่อง
การเข้าใจอัลกุรอาน จากผู้ที่ไม่เคยมีความรู้ภาษาอรับมาก่อน.มาอธิบายซ้ำอีกครั้งหนึ่ง ถ้าท่านสนใจ ก็คลิ๊กไปที่ ลิ้งข้างล่างนี้:
จริงอยู่การเข้าใจอัลกุรอานจากต้นฉบับภาษาอรับนั้น ความรู้ภาษาอรับมีความจำเป็น แต่สำหรับผู้ที่ไม่มีความรู้ภาษาอรับเลย, ถ้าท่านอยากศึกษาอัลกุรอาน, การศึกษาอัลกุรอานไม่จำเป็นจะต้องรู้ภาษาอรับ แม้แต่คำเดียว คุณหาซื้ออัลกุรอานที่แปลเป็น ภาษาอะไรก็ได้ ตามที่คุณถนัด แต่ผมขอแนะนำอัลกุรอานภาษาอังกฤษ ที่แปลโดยนักวิชาการทางภาษาศัพท์และไวยกรณ์อรับตามแนวทางอัลกุรอาน ของผู้เฃี่ยวชาญ ผู้ซึ่งเป็นที่ยอมรับของมุสลิม ทุกๆนิกายทั่วโลก ได้แก่..... Abdullah Yusuf Ali, Marmaduke Pickthall และ Mohammad Habib Shakir ที่สำคัญ คือพยายามหลีกเลี่ยง อัลกุรอาน ที่มีการใส่วงเล็บ ตามบัญญัติต่างๆ เนื่องจากข้อความ ในวงเล็บอาจจะเป็นความคิดเห็นของผู้แปลเอง หรือ จาก นักปราชญ์ ทางศาสนาอิสลามนิกายต่างๆ แปลไปตามอุดมการณ์ของนิกายที่เขาเชื่อถือ
ผมขอเพิ่มเติม ตรงความสำคัญในความจำเป็นที่จะต้องรู้และเข้าใจภาษาอรับนั้นก็คือ เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้รู้ภาษาอรับบางท่าน หลอกลวงว่า อัลกุรอานไม่ได้หมายความเช่นที่ตัวบทภาษาอรับต้นฉบับ หรือเบี่ยงเบนความหมายที่แท้จริงของบัญญัติของพระเจ้าไปจากความเป็นจริง
ตัวอย่างการแปล บัญญัติที่ 42:39 ของผู้แปลทั้ง 3 ข้างล่างนี้
وَالَّذِينَ إِذَا أَصَابَهُمُ الْبَغْيُ هُمْ
يَنْتَصِرُونَ
And those who, when great wrong afflicts them, (
يَنْتَصِرُونَ)
defend themselves.(Shakir 42:39)
And those who, when great wrong is done to them,(
يَنْتَصِرُونَ)
defend themselves,(Pickthal 42:39)
And those who, when an oppressive wrong is inflicted on them, (are not cowed but) help and (
يَنْتَصِرُونَ)
defend themselves.(Yusufali 42:39)
คำแปลอัลกุรอานจากต้นฉบับภาษาต่างประเทศทั่วทั้งโลกเท่าที่ผมค้นหามาได้ เขาแปลคำว่า “
يَنْتَصِرُونَ” ว่า “พวกเขาต่อสู้ป้องกันตัวเอง”, หรือ “การต่อสู้ตอบแทน” หรือ การ “แก้แค้น”
ไม่มีสักภาษาเดียวในโลกนี้ ที่แปล คำว่า “
يَنْتَصِرُونَ” ว่า,
“พวกเขาก็รอรับความช่วยเหลือ (จากผู้อื่นเพื่อช่วยเหลือเขาให้พ้นจากอธรรมความถูกต้อง)”
ซึ่งการแปลว่า “พวกเขาก็รอรับความช่วยเหลือ”, เป็นการให้ความหมายตรงกันข้าม จากการสอนให้มุสลิมยืนหยัดต่อสู้ความอยุติธรรม อย่างกล้าหาญ กลายเป็นบรรดาผู้ที่สิ้นหวังอ่อนแอและไม่ อาจ จะต่อสู้ป้องกันตัวเองได้
อิสมะอีล อิบนฺ กอซิร (ابن كثير) เกิดเมื่อปี 1300 และสิ้นขีวิตเมื่อ 1373 เป็นนักวิชาการทางศาสนาอิสลามที่มีอิทธิพลทางด้านความรู้ ต่อ นักวิชาการซุนนีย์มุสลิมสำนัก ฃาฟิอี เมื่อสมัย สุลตาน มัมลุค ปกครองประเทศซีเรีย
ท่านอิสมะอีล อิบนฺ กอซิร (ابن كثير) ผู้นี้เป็นทั้งผู้เชี่ยว ชาญทางด้านนิติศาสตร์ และ ประวัติศาสตร์อิสลาม และจัดได้ว่าเป็นผู้อรรถาธิบายอัลกุรอานผู้เชี่ยวชาญท่านหนึ่งของซุนนีย์มุสลิม ท่านอธิบายความหมายของ อัลกุรอาน ซูเราะฮฺอัชชูรอ บัญญัติที่ 39 ไว้ดังนี้
وَالَّذِينَ إِذَا أَصَابَهُمُ الْبَغْيُ هُمْ يَنْتَصِرُونَ 39
“และพวกเขาเมื่อได้มีความอยุติธรรม เกิดขึ้นกับพวกเขา พวกเขาก็ทำการแก้แค้น”
บัญญัติที่ 42:39 เป็นการ สอนถึงการให้ยืนหยัดต่อสู้ความอธรรมด้วยตัวของเราเอง การตอบโต้ความอยุติธรรม,การแก้แค้น ท่านอิสมะอีล อิบนฺ กอซิร อธิบายถึงการ แก้แค้นผู้รุกราน หรือการ การตอบโต้ความอยุติธรรม ว่ามีความจำเป็น หรือไม่? ภายหลังจากที่เราได้ป้องกันตนเองให้พ้นจากความอยุติธรรมแล้ว,
การแก้แค้นไม่มีความจำเป็นที่จะต้องกระทำ ท่านอิสมะอีล อิบนฺ กอซิร (ابن كثير) อธิบายต่อไปโดยยกตัวอย่าง ท่านนบียูซุบ ที่กล่าวต่อพี่ชายของท่านว่า "วันนี้ไม่มีการประณามต่อพวกท่าน อัลลอฮฺจะทรงอภัยโทษพวกท่าน และพระองค์ทรงเมตตาที่สุดในบรรดาผู้เมตตา" (12:92) ในกรณีนี้ถึงแม้ว่า ท่านนบียูซุบ มีกำลังและมีความสามารถที่จะแก้แค้นต่อพี่ชายของท่านได้แต่ท่านก็ไม่ทำ, ท่านเลือการให้อภัย และปล่อยให้เป็นสิทธิของอัลลอฮ์ที่จะทรงพิจารณา
ท่านรอซุลมูฮัมมัดก็เช่นกัน ท่านได้ให้อภัยบุคลจำนวน 8 คนที่ตั้งใจจะทำร้ายท่าน ในระหว่างปี อัล ฮูดัยบิยะห์ ( الحديبية ) ในขณะที่ท่านพักอยู่ ในหมู่บ้าน อัตตันนิม, ท่านป้องกันตัวเอง และจับบุคคลเหล่านั้นได้ แต่ท่านก็ให้อภัยปล่อยบุคคลเหล่านั้นเป็นอิสระไป, ถึงแม้ว่าท่านจะฆ่าพวกนั้นทั้งหมดก็ได้เพื่อเป็นการแก้แค้น
จากคำอธิบายของท่านอิสมะอีล อิบนฺ กอซิร (ابن كثير) ที่กล่าวมานี้เราจะเห็นว่า อัลลอฮ อนุมัติให้ผู้ศรัทธาสามารถที่จะทำการต่อสู่ได้ก็ต่อเมื่อถูกผู้รุกรานหรือถูกความอยุติธรรมกดดัน การต่อสู้ต้องเป็นการต่อสู้เพื่อป้องกันตัวเองและสังคมมุสลิมจากผู้รุกราน สำหรับการแก้แค้นหรือการป้องกันตัวเองที่เกินกว่าเหตุนั้นถ้าอดใจระงับได้ก็จะเป็นที่โปรดปราณของอัลลอฮ์(42:40)
คุณฮุไซนีจะเห็นได้ว่า ในการอธิบายของ ท่านอิสมะอีล อิบนฺ กอซิร ไม่มีคำอธิบายคำใดหรือส่วนไหนที่ใกล้เคียงกับคำว่า
“พวกเขาก็รอรับความช่วยเหลือ (จากผู้อื่นเพื่อช่วยเหลือเขาให้พ้นจากอธรรมความถูกต้อง)”
เช่นเดียวกันกับที่คุณฮุไซนี กับผู้รู้ของคุณอธิบายเลย (ซึ่งความจริงแล้วคุณไม่สมควรจะดึงท่านจุฬาเข้ามาสนับสนุนความเข้าใจที่ผิดของคุณฮุไซนีในการเข้าใจ อัลกุรอาน บัญญัติที่ 42:39 เลย)
เรากำลังสนทนากันเกี่ยวกับวิชาการ เรื่อง ความหมาย ของคำว่า َنْتَصِرُونَ ที่ใช้ใน ซูเราะฮฺอัชชูรอ,บัญญัติที่ 39 นั้นคำแปลที่ถูกต้องเป็นภาษาไทย ตามหลักไวยกรณ์อัลกุรอานนั้นจะต้องแปลว่าอย่างไร? ผมจึงขอ โฟกัสอยู่แต่ในเรื่องนี้ ส่วนคำถามของคุณในเรื่องอื่นนั้นผมจึงยังไม่ตอบในที่นี้.
ผมขออ้างความหมายที่คุณอ้างอิงไว้ข้างล่างนี้เสียก่อน....
คุณฮุไซนีในระยะหลังๆ ความหมาย ที่คุณอ้างเริ่มเปลี่ยนแปลงไป โดยอ้างนักปราช 600-700 กว่าปี แปลว่า 1.“ช่วยเหลือเขาจากอันตราย, 2.ช่วยเหลือเขาจากศัตรู” ซึ่งไม่ได้บอกว่า
ประธานของกริยาช่วยเหลือนี้คือใคร? พวกเขาด้วยกันเอง หรือ ผู้อื่นจากที่อื่น จากชุมชนอื่น ให้มาช่วยพวกเขา
เมื่อเริ่มต้น คุณอ้าง หนังสือ เล่ม แปด หน้า สามร้อยสามสิบสี่, “
นักปราชญ์แปลว่า ขอความช่วยเหลือ” ซึ่งต่าง จาก, การ(ให้ความ) “ช่วยเหลือเขาจากอันตราย และหรือ การ ช่วยเหลือเขาจากศัตรู”
การขอความฃ่วยเหลือ กับ การให้ความช่วยเหลือ นั้นมันต่างกันอย่างตรงกันข้าม ซึ่ง ผมไม่ทราบว่า
คำว่า َنْتَصِرُونَ ที่ใช้ใน ซูเราะฮฺอัชชูรอ,บัญญัติที่ 39 นี้ คุณจะใช้ ความหมายไหน? รอขอความช่วยเหลือ หรือ ให้ความฃ่วยเหลือ ไม่ว่าความหมายใดทั้งสองนี้ ไม่ถูกต้องทั้งนั้น
คุณอ้างว่า อดีตท่านจุฬา แปล คำว่า نْتَصِرُونَ ไว้ดังนี้
แต่ผมค้านว่าไม่ถูกต้อง, คำว่า يَنْتَصِرُونَ ควรจะต้องแปลว่า “เขาทั้งหลาย ป้องกันตัวเอง” ซึ่งประกอบดัวยคำสองคำคือ يَنْتَصِرُ ซึ่งแปลว่า “ชัยชนะในการต่อสู้,การยึดครอง หรือ การป้องกัน และ เมื่อต่อท้ายด้วย ونَ ซึ่งเป็น คำสรรพนามทำหน้าที่ประธาน และ/หรือกรรมของคำกริยา يَنْتَصِرُ , ซึ่งการผันของคำกริยา نصر มาเป็น يَنْتَصِرُونَ ทำให้เกิดความหมายว่าการกระทำที่สะท้อนถึงตนเอง
ดังนั้นคำ يَنْتَصِرُونَ นี้จึงควรจะต้องแปลว่า “การป้องกันพวกของเขาเอง” ตามหลักไวยกรณ์ อัลกุรอาน, ตามที่นักวิชาการท่านต่างๆที่ผมอ้างอิงถึง, ทั้งนี้เพราะนักวิขาการที่แปลว่า “การป้องกันพวกของเขาเอง” นั้นมีเหตุผลทาง ไวยกรณ์(อรับ)อัลกุรอาน ตามที่ผมได้แสดงให้เห็นพร้อมหลักฐานไปแล้ว, แต่คุณไม่เข้าใจ การผันคำกริยา يَنْتَصِر ในรูปแบบ (اِفْتَعَلَ) ซึ่งเป็นปัญหาที่สำคัญทางไวยกรณ์อรับของคุณเอง ไม่ใช่ผมทำให้คุณงุนงง อย่างที่คุณมักจะกล่าวหาผม,
เหตุที่คุณฮุไซนีงุนงงเนื่องจากความไม่เข้าใจการผันคำกริยาภาษาอรับ ตามรูปแบบไวยกรณ์อรับสากล
คำว่า يَنْتَصِرُونَ จึงจะต้องแปลว่า "พวกเขาก็ต้องช่วยกันป้องกันตัวของพวกเขาเอง" ไม่ใช่ “พวกเขาก็รอรับความช่วยเหลือ (จากผู้อื่นเพื่อช่วยเหลือเขาให้พ้นจากอธรรมความถูกต้อง)”
เนื่องจากการแปลของคุณดังกล่าวไม่มีนักวิชาการผู้ใดเท่าที่ผมเห็นทั้งในอดีต, ท่านอิสมะอีล อิบนฺ กอซิร (ابن كثير) และปัจจุบัน Abdullah Yusuf Ali, Marmaduke Pickthall และ Mohammad Habib Shakir และผู้อื่น ทั้งโลกที่มีการใช้ภาษาสากล
ผมหวังว่าคำอธิบายที่กล่าวมานี้คงจะ ตอบคำถามของคุณและยืนยันได้ว่า คำอธิบายอัลกุรอาน บัญญัติที่ 42:39 ข้างล่างนี้ ได้ถูกต้องตามความหมายของ คำอธิบาย ของ ท่านอิสมะอีล อิบนฺ กอซิร (ابن كثير) และ คำว่า يَنْتَصِرُونَ นั้นแปลว่า "พวกเขาก็ช่วยกันป้องกันพวกเขาเอง" ตามที่นักวิชาการทั่วโลกเขาแปลกัน และตรงกับ หลักภาษาศาสตร์ตามไวยกรณ์อรับ ในรูปแบบ (اِفْتَعَلَ)
คุณฮุไซนี ยังยืนยันอยู่หรือไม่ครับว่า คำว่า يَنْتَصِرُونَ แปลว่า "รอขอความช่วยเหลือ หรือ ให้ความฃ่วยเหลือ" ไม่ใช่แปลว่า, "พวกเขาป้องกันตัวเอง"
ถ้ายังเชื่อเช่นนั้นอยู่กรุณายืนยันด้วยครับว่า, ผมฮุไซนีขอยืนยันว่า... คำว่า يَنْتَصِرُونَ ไม่ได้แปลว่า "พวกเขาป้องกันตัวเอง".
ปล.
คุณฮุไซนีอย่าลืมนะครับว่าผมไม่เข้าใจภาษาอรับ ดังนั้นการอธิบายอะไรในเรื่องนี้ กรุณาใช้ภาษาไทยให้มากที่สุด เพื่อผู้อื่นจะได้เข้าใจด้วย
สิ่งที่คุณฮุไซนี ยังมีความข้องใจอยู่ในเรื่อง ความหมายของคำว่า (يَنْتَصِرُونَ) defend themselves
จริงอยู่การเข้าใจอัลกุรอานจากต้นฉบับภาษาอรับนั้น ความรู้ภาษาอรับมีความจำเป็น แต่สำหรับผู้ที่ไม่มีความรู้ภาษาอรับเลย, ถ้าท่านอยากศึกษาอัลกุรอาน, การศึกษาอัลกุรอานไม่จำเป็นจะต้องรู้ภาษาอรับ แม้แต่คำเดียว คุณหาซื้ออัลกุรอานที่แปลเป็น ภาษาอะไรก็ได้ ตามที่คุณถนัด แต่ผมขอแนะนำอัลกุรอานภาษาอังกฤษ ที่แปลโดยนักวิชาการทางภาษาศัพท์และไวยกรณ์อรับตามแนวทางอัลกุรอาน ของผู้เฃี่ยวชาญ ผู้ซึ่งเป็นที่ยอมรับของมุสลิม ทุกๆนิกายทั่วโลก ได้แก่..... Abdullah Yusuf Ali, Marmaduke Pickthall และ Mohammad Habib Shakir ที่สำคัญ คือพยายามหลีกเลี่ยง อัลกุรอาน ที่มีการใส่วงเล็บ ตามบัญญัติต่างๆ เนื่องจากข้อความ ในวงเล็บอาจจะเป็นความคิดเห็นของผู้แปลเอง หรือ จาก นักปราชญ์ ทางศาสนาอิสลามนิกายต่างๆ แปลไปตามอุดมการณ์ของนิกายที่เขาเชื่อถือ
ผมขอเพิ่มเติม ตรงความสำคัญในความจำเป็นที่จะต้องรู้และเข้าใจภาษาอรับนั้นก็คือ เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้รู้ภาษาอรับบางท่าน หลอกลวงว่า อัลกุรอานไม่ได้หมายความเช่นที่ตัวบทภาษาอรับต้นฉบับ หรือเบี่ยงเบนความหมายที่แท้จริงของบัญญัติของพระเจ้าไปจากความเป็นจริง
ตัวอย่างการแปล บัญญัติที่ 42:39 ของผู้แปลทั้ง 3 ข้างล่างนี้
وَالَّذِينَ إِذَا أَصَابَهُمُ الْبَغْيُ هُمْ يَنْتَصِرُونَ
And those who, when great wrong afflicts them, (يَنْتَصِرُونَ)defend themselves.(Shakir 42:39)
And those who, when great wrong is done to them,(يَنْتَصِرُونَ) defend themselves,(Pickthal 42:39)
And those who, when an oppressive wrong is inflicted on them, (are not cowed but) help and (يَنْتَصِرُونَ)defend themselves.(Yusufali 42:39)
คำแปลอัลกุรอานจากต้นฉบับภาษาต่างประเทศทั่วทั้งโลกเท่าที่ผมค้นหามาได้ เขาแปลคำว่า “يَنْتَصِرُونَ” ว่า “พวกเขาต่อสู้ป้องกันตัวเอง”, หรือ “การต่อสู้ตอบแทน” หรือ การ “แก้แค้น”
ไม่มีสักภาษาเดียวในโลกนี้ ที่แปล คำว่า “يَنْتَصِرُونَ” ว่า,
“พวกเขาก็รอรับความช่วยเหลือ (จากผู้อื่นเพื่อช่วยเหลือเขาให้พ้นจากอธรรมความถูกต้อง)”
ซึ่งการแปลว่า “พวกเขาก็รอรับความช่วยเหลือ”, เป็นการให้ความหมายตรงกันข้าม จากการสอนให้มุสลิมยืนหยัดต่อสู้ความอยุติธรรม อย่างกล้าหาญ กลายเป็นบรรดาผู้ที่สิ้นหวังอ่อนแอและไม่ อาจ จะต่อสู้ป้องกันตัวเองได้
อิสมะอีล อิบนฺ กอซิร (ابن كثير) เกิดเมื่อปี 1300 และสิ้นขีวิตเมื่อ 1373 เป็นนักวิชาการทางศาสนาอิสลามที่มีอิทธิพลทางด้านความรู้ ต่อ นักวิชาการซุนนีย์มุสลิมสำนัก ฃาฟิอี เมื่อสมัย สุลตาน มัมลุค ปกครองประเทศซีเรีย
ท่านอิสมะอีล อิบนฺ กอซิร (ابن كثير) ผู้นี้เป็นทั้งผู้เชี่ยว ชาญทางด้านนิติศาสตร์ และ ประวัติศาสตร์อิสลาม และจัดได้ว่าเป็นผู้อรรถาธิบายอัลกุรอานผู้เชี่ยวชาญท่านหนึ่งของซุนนีย์มุสลิม ท่านอธิบายความหมายของ อัลกุรอาน ซูเราะฮฺอัชชูรอ บัญญัติที่ 39 ไว้ดังนี้
وَالَّذِينَ إِذَا أَصَابَهُمُ الْبَغْيُ هُمْ يَنْتَصِرُونَ 39
“และพวกเขาเมื่อได้มีความอยุติธรรม เกิดขึ้นกับพวกเขา พวกเขาก็ทำการแก้แค้น”
บัญญัติที่ 42:39 เป็นการ สอนถึงการให้ยืนหยัดต่อสู้ความอธรรมด้วยตัวของเราเอง การตอบโต้ความอยุติธรรม,การแก้แค้น ท่านอิสมะอีล อิบนฺ กอซิร อธิบายถึงการ แก้แค้นผู้รุกราน หรือการ การตอบโต้ความอยุติธรรม ว่ามีความจำเป็น หรือไม่? ภายหลังจากที่เราได้ป้องกันตนเองให้พ้นจากความอยุติธรรมแล้ว,
การแก้แค้นไม่มีความจำเป็นที่จะต้องกระทำ ท่านอิสมะอีล อิบนฺ กอซิร (ابن كثير) อธิบายต่อไปโดยยกตัวอย่าง ท่านนบียูซุบ ที่กล่าวต่อพี่ชายของท่านว่า "วันนี้ไม่มีการประณามต่อพวกท่าน อัลลอฮฺจะทรงอภัยโทษพวกท่าน และพระองค์ทรงเมตตาที่สุดในบรรดาผู้เมตตา" (12:92) ในกรณีนี้ถึงแม้ว่า ท่านนบียูซุบ มีกำลังและมีความสามารถที่จะแก้แค้นต่อพี่ชายของท่านได้แต่ท่านก็ไม่ทำ, ท่านเลือการให้อภัย และปล่อยให้เป็นสิทธิของอัลลอฮ์ที่จะทรงพิจารณา
ท่านรอซุลมูฮัมมัดก็เช่นกัน ท่านได้ให้อภัยบุคลจำนวน 8 คนที่ตั้งใจจะทำร้ายท่าน ในระหว่างปี อัล ฮูดัยบิยะห์ ( الحديبية ) ในขณะที่ท่านพักอยู่ ในหมู่บ้าน อัตตันนิม, ท่านป้องกันตัวเอง และจับบุคคลเหล่านั้นได้ แต่ท่านก็ให้อภัยปล่อยบุคคลเหล่านั้นเป็นอิสระไป, ถึงแม้ว่าท่านจะฆ่าพวกนั้นทั้งหมดก็ได้เพื่อเป็นการแก้แค้น
จากคำอธิบายของท่านอิสมะอีล อิบนฺ กอซิร (ابن كثير) ที่กล่าวมานี้เราจะเห็นว่า อัลลอฮ อนุมัติให้ผู้ศรัทธาสามารถที่จะทำการต่อสู่ได้ก็ต่อเมื่อถูกผู้รุกรานหรือถูกความอยุติธรรมกดดัน การต่อสู้ต้องเป็นการต่อสู้เพื่อป้องกันตัวเองและสังคมมุสลิมจากผู้รุกราน สำหรับการแก้แค้นหรือการป้องกันตัวเองที่เกินกว่าเหตุนั้นถ้าอดใจระงับได้ก็จะเป็นที่โปรดปราณของอัลลอฮ์(42:40)
คุณฮุไซนีจะเห็นได้ว่า ในการอธิบายของ ท่านอิสมะอีล อิบนฺ กอซิร ไม่มีคำอธิบายคำใดหรือส่วนไหนที่ใกล้เคียงกับคำว่า
“พวกเขาก็รอรับความช่วยเหลือ (จากผู้อื่นเพื่อช่วยเหลือเขาให้พ้นจากอธรรมความถูกต้อง)”
เช่นเดียวกันกับที่คุณฮุไซนี กับผู้รู้ของคุณอธิบายเลย (ซึ่งความจริงแล้วคุณไม่สมควรจะดึงท่านจุฬาเข้ามาสนับสนุนความเข้าใจที่ผิดของคุณฮุไซนีในการเข้าใจ อัลกุรอาน บัญญัติที่ 42:39 เลย)
เรากำลังสนทนากันเกี่ยวกับวิชาการ เรื่อง ความหมาย ของคำว่า َنْتَصِرُونَ ที่ใช้ใน ซูเราะฮฺอัชชูรอ,บัญญัติที่ 39 นั้นคำแปลที่ถูกต้องเป็นภาษาไทย ตามหลักไวยกรณ์อัลกุรอานนั้นจะต้องแปลว่าอย่างไร? ผมจึงขอ โฟกัสอยู่แต่ในเรื่องนี้ ส่วนคำถามของคุณในเรื่องอื่นนั้นผมจึงยังไม่ตอบในที่นี้.
ผมขออ้างความหมายที่คุณอ้างอิงไว้ข้างล่างนี้เสียก่อน....
คุณฮุไซนีในระยะหลังๆ ความหมาย ที่คุณอ้างเริ่มเปลี่ยนแปลงไป โดยอ้างนักปราช 600-700 กว่าปี แปลว่า 1.“ช่วยเหลือเขาจากอันตราย, 2.ช่วยเหลือเขาจากศัตรู” ซึ่งไม่ได้บอกว่าประธานของกริยาช่วยเหลือนี้คือใคร? พวกเขาด้วยกันเอง หรือ ผู้อื่นจากที่อื่น จากชุมชนอื่น ให้มาช่วยพวกเขา
เมื่อเริ่มต้น คุณอ้าง หนังสือ เล่ม แปด หน้า สามร้อยสามสิบสี่, “นักปราชญ์แปลว่า ขอความช่วยเหลือ” ซึ่งต่าง จาก, การ(ให้ความ) “ช่วยเหลือเขาจากอันตราย และหรือ การ ช่วยเหลือเขาจากศัตรู”
การขอความฃ่วยเหลือ กับ การให้ความช่วยเหลือ นั้นมันต่างกันอย่างตรงกันข้าม ซึ่ง ผมไม่ทราบว่า คำว่า َنْتَصِرُونَ ที่ใช้ใน ซูเราะฮฺอัชชูรอ,บัญญัติที่ 39 นี้ คุณจะใช้ ความหมายไหน? รอขอความช่วยเหลือ หรือ ให้ความฃ่วยเหลือ ไม่ว่าความหมายใดทั้งสองนี้ ไม่ถูกต้องทั้งนั้น
คุณอ้างว่า อดีตท่านจุฬา แปล คำว่า نْتَصِرُونَ ไว้ดังนี้
แต่ผมค้านว่าไม่ถูกต้อง, คำว่า يَنْتَصِرُونَ ควรจะต้องแปลว่า “เขาทั้งหลาย ป้องกันตัวเอง” ซึ่งประกอบดัวยคำสองคำคือ يَنْتَصِرُ ซึ่งแปลว่า “ชัยชนะในการต่อสู้,การยึดครอง หรือ การป้องกัน และ เมื่อต่อท้ายด้วย ونَ ซึ่งเป็น คำสรรพนามทำหน้าที่ประธาน และ/หรือกรรมของคำกริยา يَنْتَصِرُ , ซึ่งการผันของคำกริยา نصر มาเป็น يَنْتَصِرُونَ ทำให้เกิดความหมายว่าการกระทำที่สะท้อนถึงตนเอง
ดังนั้นคำ يَنْتَصِرُونَ นี้จึงควรจะต้องแปลว่า “การป้องกันพวกของเขาเอง” ตามหลักไวยกรณ์ อัลกุรอาน, ตามที่นักวิชาการท่านต่างๆที่ผมอ้างอิงถึง, ทั้งนี้เพราะนักวิขาการที่แปลว่า “การป้องกันพวกของเขาเอง” นั้นมีเหตุผลทาง ไวยกรณ์(อรับ)อัลกุรอาน ตามที่ผมได้แสดงให้เห็นพร้อมหลักฐานไปแล้ว, แต่คุณไม่เข้าใจ การผันคำกริยา يَنْتَصِر ในรูปแบบ (اِفْتَعَلَ) ซึ่งเป็นปัญหาที่สำคัญทางไวยกรณ์อรับของคุณเอง ไม่ใช่ผมทำให้คุณงุนงง อย่างที่คุณมักจะกล่าวหาผม, เหตุที่คุณฮุไซนีงุนงงเนื่องจากความไม่เข้าใจการผันคำกริยาภาษาอรับ ตามรูปแบบไวยกรณ์อรับสากล
คำว่า يَنْتَصِرُونَ จึงจะต้องแปลว่า "พวกเขาก็ต้องช่วยกันป้องกันตัวของพวกเขาเอง" ไม่ใช่ “พวกเขาก็รอรับความช่วยเหลือ (จากผู้อื่นเพื่อช่วยเหลือเขาให้พ้นจากอธรรมความถูกต้อง)”
เนื่องจากการแปลของคุณดังกล่าวไม่มีนักวิชาการผู้ใดเท่าที่ผมเห็นทั้งในอดีต, ท่านอิสมะอีล อิบนฺ กอซิร (ابن كثير) และปัจจุบัน Abdullah Yusuf Ali, Marmaduke Pickthall และ Mohammad Habib Shakir และผู้อื่น ทั้งโลกที่มีการใช้ภาษาสากล
ผมหวังว่าคำอธิบายที่กล่าวมานี้คงจะ ตอบคำถามของคุณและยืนยันได้ว่า คำอธิบายอัลกุรอาน บัญญัติที่ 42:39 ข้างล่างนี้ ได้ถูกต้องตามความหมายของ คำอธิบาย ของ ท่านอิสมะอีล อิบนฺ กอซิร (ابن كثير) และ คำว่า يَنْتَصِرُونَ นั้นแปลว่า "พวกเขาก็ช่วยกันป้องกันพวกเขาเอง" ตามที่นักวิชาการทั่วโลกเขาแปลกัน และตรงกับ หลักภาษาศาสตร์ตามไวยกรณ์อรับ ในรูปแบบ (اِفْتَعَلَ)
คุณฮุไซนี ยังยืนยันอยู่หรือไม่ครับว่า คำว่า يَنْتَصِرُونَ แปลว่า "รอขอความช่วยเหลือ หรือ ให้ความฃ่วยเหลือ" ไม่ใช่แปลว่า, "พวกเขาป้องกันตัวเอง"
ถ้ายังเชื่อเช่นนั้นอยู่กรุณายืนยันด้วยครับว่า, ผมฮุไซนีขอยืนยันว่า... คำว่า يَنْتَصِرُونَ ไม่ได้แปลว่า "พวกเขาป้องกันตัวเอง".
ปล.
คุณฮุไซนีอย่าลืมนะครับว่าผมไม่เข้าใจภาษาอรับ ดังนั้นการอธิบายอะไรในเรื่องนี้ กรุณาใช้ภาษาไทยให้มากที่สุด เพื่อผู้อื่นจะได้เข้าใจด้วย