ด้วยบทสรรเสริญพระธรรมคุณ คือ
สวากขาโต ภะคะวา ธัมโม (พระธรรม เป็นสิ่งที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ดีแล้ว)
สันทิฏฐิโก (เป็นสิ่งที่ผู้ศึกษาและปฏิบัติ พึงเห็นได้ด้วยตนเอง)
อะกาลิโก (เป็นสิ่งที่ปฏิบัติได้ และให้ผลได้ไม่จำกัดกาล)
เอหิปัสสิโก (เป็นสิ่งที่ควรกล่าวกะผู้อื่นว่าท่านจงมาดูเถิด)
โอปะนะยิโก (เป็นสิ่งที่ควรน้อมเข้ามาใส่ตัว)
ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญู
ติ. (เป็นสิ่งที่ผู้รู้ พึงรู้ได้เฉพาะตน ดังนี้ฯ)
ข้าพเจ้าขอบูชาซึ่งพระธรรมนั้น ด้วยเศียรเกล้า
*********************************************************************************
ข้าพเจ้าจะขอกล่าวถึง พระธรรมองค์หนึ่ง คือ ลักขณูปณิชฌาณ
ลักขณูปณิชฌาณนั้นเป็นฌาณสมาธิที่พิเศษเฉพาะของศาสนาพุทธ ซึ่งใช้เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการฝึกวิปัสสนากรรมฐาน
แยกศัพท์ได้คือ ลักษณะ + ขณะ +อุบัติ + ฌาณ
- ลักษณะ คือ อาการเกิดขึ้น อาการตั้งอยู่ อาการดับไป (อนิจลักษณะ) - อาการทนอยู่อย่างเดิมไม่ได้ต้องเปลี่ยนแปลงไป (ทุกขลักษณะ) - อาการไม่เป็นตัวตนของตนบังคับบัญชาไม่ได้ (อนัตตลักษณะ)
- ขณะ คือ ในขณะนั้นๆ
- อุบัติ คือ ความเกิดขึ้น
- ฌาณ คือ วิตก วิจารณ์ ปิติ สุข เอกคตารมณ์ (สมาธิ+สติ)
นั่นคือ ฌาณสมาธิชนิดนี้จะต้องมีครบ 4 องค์ คือ ลักษณะ ขณะ อุบัติ และ ฌาณ หากไม่ครบ 4 องค์ก็ยังไม่เป็น ลักขณูปณิชฌาณ
บรรยายความได้ว่า
กรรมฐานที่ "จิต" มีวิตก วิจารณ์ ปิติ สุข เอกคตารมณ์ (สมาธิ+สติ) ไปรับรู้ในความเกิดขึ้นของอาการเกิดขึ้น อาการตั้งอยู่ อาการดับไปในขณะเวลานั้นๆ
มีอาการของฌาณสมาธิคือ เมื่อจิตรู้ความเกิดขึ้นสิ่งใดนั้นพึงรู้ว่าสิ่งใดนั้นเกิดขึ้น เมื่อจิตรู้ความตั้งอยู่สิ่งใดนั้นพึงรู้ว่าสิ่งใดนั้นตั้งอยู่ เมื่อจิตรู้ความดับไปสิ่งใดนั้นพึงรู้ว่าสิ่งใดนั้นดับไป
ฌาณสมาธิชนิดนี้สมบูรณ์พร้อมด้วยองค์คุณสมดังบทสรรเสริญพระธรรมเจ้าแล้ว
*********************************************************************************
พระธรรม อันมีองค์คือ อกาลิโก
สวากขาโต ภะคะวา ธัมโม (พระธรรม เป็นสิ่งที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ดีแล้ว)
สันทิฏฐิโก (เป็นสิ่งที่ผู้ศึกษาและปฏิบัติ พึงเห็นได้ด้วยตนเอง)
อะกาลิโก (เป็นสิ่งที่ปฏิบัติได้ และให้ผลได้ไม่จำกัดกาล)
เอหิปัสสิโก (เป็นสิ่งที่ควรกล่าวกะผู้อื่นว่าท่านจงมาดูเถิด)
โอปะนะยิโก (เป็นสิ่งที่ควรน้อมเข้ามาใส่ตัว)
ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูติ. (เป็นสิ่งที่ผู้รู้ พึงรู้ได้เฉพาะตน ดังนี้ฯ)
ข้าพเจ้าขอบูชาซึ่งพระธรรมนั้น ด้วยเศียรเกล้า
*********************************************************************************
ข้าพเจ้าจะขอกล่าวถึง พระธรรมองค์หนึ่ง คือ ลักขณูปณิชฌาณ
ลักขณูปณิชฌาณนั้นเป็นฌาณสมาธิที่พิเศษเฉพาะของศาสนาพุทธ ซึ่งใช้เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการฝึกวิปัสสนากรรมฐาน
แยกศัพท์ได้คือ ลักษณะ + ขณะ +อุบัติ + ฌาณ
- ลักษณะ คือ อาการเกิดขึ้น อาการตั้งอยู่ อาการดับไป (อนิจลักษณะ) - อาการทนอยู่อย่างเดิมไม่ได้ต้องเปลี่ยนแปลงไป (ทุกขลักษณะ) - อาการไม่เป็นตัวตนของตนบังคับบัญชาไม่ได้ (อนัตตลักษณะ)
- ขณะ คือ ในขณะนั้นๆ
- อุบัติ คือ ความเกิดขึ้น
- ฌาณ คือ วิตก วิจารณ์ ปิติ สุข เอกคตารมณ์ (สมาธิ+สติ)
นั่นคือ ฌาณสมาธิชนิดนี้จะต้องมีครบ 4 องค์ คือ ลักษณะ ขณะ อุบัติ และ ฌาณ หากไม่ครบ 4 องค์ก็ยังไม่เป็น ลักขณูปณิชฌาณ
บรรยายความได้ว่า
กรรมฐานที่ "จิต" มีวิตก วิจารณ์ ปิติ สุข เอกคตารมณ์ (สมาธิ+สติ) ไปรับรู้ในความเกิดขึ้นของอาการเกิดขึ้น อาการตั้งอยู่ อาการดับไปในขณะเวลานั้นๆ
มีอาการของฌาณสมาธิคือ เมื่อจิตรู้ความเกิดขึ้นสิ่งใดนั้นพึงรู้ว่าสิ่งใดนั้นเกิดขึ้น เมื่อจิตรู้ความตั้งอยู่สิ่งใดนั้นพึงรู้ว่าสิ่งใดนั้นตั้งอยู่ เมื่อจิตรู้ความดับไปสิ่งใดนั้นพึงรู้ว่าสิ่งใดนั้นดับไป
ฌาณสมาธิชนิดนี้สมบูรณ์พร้อมด้วยองค์คุณสมดังบทสรรเสริญพระธรรมเจ้าแล้ว
*********************************************************************************