กับเรื่อง ..... บางเรื่อง หรือ กับคน ....... บางคน บางครั้งมันก็ "ซ้ำซาก" จนน่าเบื่อจริงๆ นะครับ
และสุดท้าย กรณี "การเวียนว่ายตายเกิดอย่างมีเหตุปัจจัย" ก็ได้วกกลับมาสู่ "ความน่าเบื่อ" แบบเดิมๆ นั่นคือ
การตั้งคำถาม "แก้เก้อ" ในทำนองว่า ................ ชาติมาจากไหน ?
ทั้งๆ ที่มันผู้นั้น ถูกทวงถามว่า ปฏิจจสมุปบาทข้ามภพชาติ หรือ การเวียนว่ายตายเกิดอย่างมีเหตุปัจจัย
ตามที่มันกล่าวอ้าง มานานแสนนานนั้น มีหลักฐานอยู่ส่วนใดของพระไตรปิฎก ?
ประเด็นปัญหา ก็คือ การตั้งคำถามโง่ๆ กลับมา
มันจะเท่ากับการแสดงหลักฐานชั้นพุทธพจน์เกี่ยวกับเรื่องข้ามภพข้ามชาติของมัน ได้อย่างไร ?
ช่างน่าสมเพช ที่ทั้งๆ เนื้อความในกระทู้ ได้ถามอย่างชัดเจนถึงเรื่อง ปฏิจจสมุปบาท
เข้าใจไหมครับว่า ปฏิจจสมุปบาท กล่าวถึงอะไร ?
แต่แล้วเหตุใด คนๆ นี้จึงได้พยายาม พา ชาวพุทธทั้งหลาย "วกวน" อยู่กับ การระลึกชาติ
ทั้งๆ ที่มันก็มิใช่เรื่อง ปฏิจจสมุปบาท ที่กำลังถกเถียงกันอยู่สักหน่อย
นี่ย่อมมิใช่ครั้งแรก นะครับ แต่มัน เป็นอย่างนี้ ทำอย่างนี้ ทุกครั้ง เมื่อถูกทวงถามว่า .......
พระพุทธเจ้าตรัสเรื่อง ปฏิจจสมุปบาทข้ามภพชาติ เอาไว้ที่ไหน ?
หรือ ถามว่า การเวียนว่ายตายเกิดอย่างมีเหตุปัจจัย คืออะไร และ พระพุทธเจ้าตรัสไว้ที่ไหน ?
ขอประทานโทษ นะครับ ทุกครั้งที่ "มัน" เจอคำถามแบบนี้
ชาวพุทธทั้งหลาย ก็จะพบแต่ การถามกลับแบบโง่ๆ จาก นายคันโตนาซี เช่นนี้ ทุกครั้งไป
โดยปราศจากการอ้างอิงหลักฐานชั้นพระบาลีพุทธพจน์ อย่างที่ชาวพุทธเถรวาท พึงกระทำ
แปลกไหมล่ะ ?
***************************************************************************
ทีนี้ นายคันโตนาซี เขาแอบอ้างว่า เมื่อเจอกับคำถามโง่ๆ ของเขาแล้ว
ก็จะมี "คนหน้าซีดปากสั่น" พยายามบิดคำตอบไปในทำนองว่า .......... ชาติไม่ได้เป็นของใคร
เรื่องนี้ ต้องอธิบายกันให้เข้าใจ ในหลายๆ ประเด็น นะครับ
(๑) สรุป ก็คือ ในทุกๆ ครั้ง ที่ผู้คนเขาถกเถียงกันในเรื่อง ปฏิจจสมุปบาท ขอย้ำอีกครั้งว่า เรื่อง ปฏิจจสมุปบาท !
แล้ว คันโตนาซี สาระแน มาตั้งคำถามว่า "ชาติ ใน การระลึกชาติ" หาพระแสง อะไรครับ ?
โง่ หรือ บ้า หรือ สับสน หรือ แถกแถ ............. กันแน่ครับ ?
ยิ่งฟังคำ "แก้ตัว" ของคนๆ นี้แล้ว ยิ่งรู้สึกว่า เหมือนกำลัง เสวนากับคนบ้า
คนเขาคุยกันเรื่องปฏิจจสมุปบาท และ ทวงถามว่า ที่กล่าวอ้างเรื่อง ข้ามภพชาตินั่นน่ะ มีหลักฐาน หรือไม่ ?
แล้วมันเสนอหน้ามาตั้งคำถามโง่ๆ แบบนั้นขึ้นมาทำไมครับ ?
นั่นมิใช่ประเด็นที่โต้แย้งกัน และก็มิใช่หลักฐาน ที่ถูกทวงถามสักหน่อย
(๒) การที่ผม หรือ ชาวพุทธโดยทั่วไป ระบุว่า .......... ชาตินี้ มิได้เป็นของใคร
แท้ที่จริง มิได้เป็นการ "บิด" หากแต่เป็นการตอบคำถาม อย่างที่ควรตอบในฐานะที่เป็นสาวกของพระพุทธเจ้า
ซึ่งแน่นอนว่า อาจไม่ถูกใจสาวกอัญญเดียรถีย์ อย่างใครบางคน
ขออนุญาตกล่าวยืนยันอีกครั้งว่า ผมมิได้มีเจตนาที่จะอธิบายความเรื่อง การระลึกชาติ
แต่กำลังอธิบายความในเรื่อง ปฏิจจสมุปบาท ซึ่งเป็น โลกุตตระ และ ประกอบด้วยสุญญตาธรรม
ดังนั้น เมื่อกล่าวถึง "ชา-ติ" คือ การเกิดนี้ พระพุทธเจ้าตรัสว่า สิ่งที่ควรถามให้ถูกต้อง ก็คือ การถามว่า
อะไรเป็นเหตุปัจจัยแก่ ชาติ หรือ ชาติ เป็นเหตุปัจจัยให้เกิดอะไร เป็นต้น
แต่ถ้าเป็นการตั้งคำถามด้วยอำนาจแห่ง ตัณหา หรือ ทิฐิ เช่น การถามในทำนองว่า ชาติเป็นของใคร ? หรือ
ชาติเป็นอย่างไร ? เป็นต้น กรณีอย่างนี้ พระพุทธเจ้าตรัสว่า เป็นการตั้งคำถามไม่ถูก และ ไม่เป็นไปเพื่อการประพฤติธรรม
ประเด็น ก็คือ การที่ผมตอบแบบนี้ อธิบายความตามพระพุทธดำรัสแบบนี้ นับว่าเป็นการ "บิด" ได้อย่างไร ?
หรือ ถ้าหาก คันโตนาซี จะเห็นว่า การตั้งคำถามโง่ๆ ในทำนองว่า "ชาติมาจากไหน ?"
เป็นการตั้งคำถาม ที่สอดคล้องกับพระพุทธประสงค์ ก็จงชี้แจงออกมาให้ชัดเจนด้วย
ว่า การตั้งคำถามโง่ๆ แบบนั้น จักเป็นเหตุแห่งการประพฤติพรหมจรรย์ ได้อย่างไร ?
ขอให้แสดงหลักฐานอ้างอิงชั้นพุทธพจน์ ด้วยนะครับ (ถ้าหากจะมี อยู่จริง)
***************************************************************************
(๓) หลายท่านอาจยังไม่ทราบว่า อรรถกถาจารย์ ได้อธิบาย กรณี การตั้งคำถามผิด เอาไว้ว่าอย่างไร
อรรถกถาจารย์ ได้อธิบายความเอาไว้ว่า ที่จริงแล้ว การตั้งคำถามในทำนองว่า ชรามรณะเป็นไฉน ?
หรือ ชาติ เป็นไฉน ? ก็น่าจะเป็นการตั้งคำถามที่ดีได้ แต่ที่มันกลายเป็นการตั้งปัญหาที่เลว ก็เพราะ
การตั้งคำถามแบบนั้น เป็นการกล่าว ด้วยการเข้าไปยึดถือเอา สัตว์ บุคคล ว่าเป็น ตัวตน ของตน !
โดยอุปมา เปรียบเทียบเอาไว้ว่า เสมือนประหนึ่ง เอาก้อนคูถ วางไว้บนอาหารชั้นดี ที่ใส่ในถาดทอง
อาหารดังกล่าว ก็กลายเป็นอาหารชั้นเลว ที่กินไม่ได้ เพราะ ก้อนคูถ นั้นเอง
ท่านทั้งหลาย จะเห็นได้ว่า คำอธิบายของ อรรถกถาจารย์ มีความสอดคล้องกับพฤติการณ์ ของ คันโตนาซี เป็นอย่างยิ่ง
เพราะทั้งๆ ที่ถกเถียงกันในเรื่อง ปฏิจจสมุปบาท อยู่แท้ๆ แต่คนๆ นี้ กลับพยายาม จะตั้งคำถามโง่ๆ ในเรื่อง ชาติ(การเกิด)
โดยเนื่องกับ สัตว์ บุคคล ในกรณี (๑) การระลึกชาติ และ (๒) การเวียนว่ายตายเกิด ซึ่งย่อมส่อแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนถึง
การตั้งคำถามด้วยความยึดติดถือมั่นใน สัตว์ บุคคล ว่าเป็น ตัวตน ของตน ไม่ต่างไปจากพวกอัญญเดียรถีย์ นอกพระพุทธศาสนา
คันโตนาซี อาจยังไม่รู้ตัวว่า ข้อความในทำนอง คำถามโง่ๆ ของเขา
ได้ถูกอรรถกถาจารย์ เปรียบเทียบเอาไว้ก่อนหน้านี้แล้วว่า เหมือนกับ "ก้อนคูถ"
ดังนั้น ต่อให้ผม หรือใครๆ ตั้งใจตอบคำถามของมัน อย่างดีสักเพียงใด
ก็คงไม่มีทางจะตรงตามความต้องการ(ตัณหา)ของมันไปได้หรอก
จริงไหม ?
การเกิด(ชาติ) มาจากไหน ? ........... (คำถาม ที่เหมือน "ก้อนคูถ" บนอาหาร !)
และสุดท้าย กรณี "การเวียนว่ายตายเกิดอย่างมีเหตุปัจจัย" ก็ได้วกกลับมาสู่ "ความน่าเบื่อ" แบบเดิมๆ นั่นคือ
การตั้งคำถาม "แก้เก้อ" ในทำนองว่า ................ ชาติมาจากไหน ?
ทั้งๆ ที่มันผู้นั้น ถูกทวงถามว่า ปฏิจจสมุปบาทข้ามภพชาติ หรือ การเวียนว่ายตายเกิดอย่างมีเหตุปัจจัย
ตามที่มันกล่าวอ้าง มานานแสนนานนั้น มีหลักฐานอยู่ส่วนใดของพระไตรปิฎก ?
ประเด็นปัญหา ก็คือ การตั้งคำถามโง่ๆ กลับมา
มันจะเท่ากับการแสดงหลักฐานชั้นพุทธพจน์เกี่ยวกับเรื่องข้ามภพข้ามชาติของมัน ได้อย่างไร ?
ช่างน่าสมเพช ที่ทั้งๆ เนื้อความในกระทู้ ได้ถามอย่างชัดเจนถึงเรื่อง ปฏิจจสมุปบาท
เข้าใจไหมครับว่า ปฏิจจสมุปบาท กล่าวถึงอะไร ?
แต่แล้วเหตุใด คนๆ นี้จึงได้พยายาม พา ชาวพุทธทั้งหลาย "วกวน" อยู่กับ การระลึกชาติ
ทั้งๆ ที่มันก็มิใช่เรื่อง ปฏิจจสมุปบาท ที่กำลังถกเถียงกันอยู่สักหน่อย
นี่ย่อมมิใช่ครั้งแรก นะครับ แต่มัน เป็นอย่างนี้ ทำอย่างนี้ ทุกครั้ง เมื่อถูกทวงถามว่า .......
พระพุทธเจ้าตรัสเรื่อง ปฏิจจสมุปบาทข้ามภพชาติ เอาไว้ที่ไหน ?
หรือ ถามว่า การเวียนว่ายตายเกิดอย่างมีเหตุปัจจัย คืออะไร และ พระพุทธเจ้าตรัสไว้ที่ไหน ?
ขอประทานโทษ นะครับ ทุกครั้งที่ "มัน" เจอคำถามแบบนี้
ชาวพุทธทั้งหลาย ก็จะพบแต่ การถามกลับแบบโง่ๆ จาก นายคันโตนาซี เช่นนี้ ทุกครั้งไป
โดยปราศจากการอ้างอิงหลักฐานชั้นพระบาลีพุทธพจน์ อย่างที่ชาวพุทธเถรวาท พึงกระทำ
แปลกไหมล่ะ ?
***************************************************************************
ทีนี้ นายคันโตนาซี เขาแอบอ้างว่า เมื่อเจอกับคำถามโง่ๆ ของเขาแล้ว
ก็จะมี "คนหน้าซีดปากสั่น" พยายามบิดคำตอบไปในทำนองว่า .......... ชาติไม่ได้เป็นของใคร
เรื่องนี้ ต้องอธิบายกันให้เข้าใจ ในหลายๆ ประเด็น นะครับ
(๑) สรุป ก็คือ ในทุกๆ ครั้ง ที่ผู้คนเขาถกเถียงกันในเรื่อง ปฏิจจสมุปบาท ขอย้ำอีกครั้งว่า เรื่อง ปฏิจจสมุปบาท !
แล้ว คันโตนาซี สาระแน มาตั้งคำถามว่า "ชาติ ใน การระลึกชาติ" หาพระแสง อะไรครับ ?
โง่ หรือ บ้า หรือ สับสน หรือ แถกแถ ............. กันแน่ครับ ?
ยิ่งฟังคำ "แก้ตัว" ของคนๆ นี้แล้ว ยิ่งรู้สึกว่า เหมือนกำลัง เสวนากับคนบ้า
คนเขาคุยกันเรื่องปฏิจจสมุปบาท และ ทวงถามว่า ที่กล่าวอ้างเรื่อง ข้ามภพชาตินั่นน่ะ มีหลักฐาน หรือไม่ ?
แล้วมันเสนอหน้ามาตั้งคำถามโง่ๆ แบบนั้นขึ้นมาทำไมครับ ?
นั่นมิใช่ประเด็นที่โต้แย้งกัน และก็มิใช่หลักฐาน ที่ถูกทวงถามสักหน่อย
(๒) การที่ผม หรือ ชาวพุทธโดยทั่วไป ระบุว่า .......... ชาตินี้ มิได้เป็นของใคร
แท้ที่จริง มิได้เป็นการ "บิด" หากแต่เป็นการตอบคำถาม อย่างที่ควรตอบในฐานะที่เป็นสาวกของพระพุทธเจ้า
ซึ่งแน่นอนว่า อาจไม่ถูกใจสาวกอัญญเดียรถีย์ อย่างใครบางคน
ขออนุญาตกล่าวยืนยันอีกครั้งว่า ผมมิได้มีเจตนาที่จะอธิบายความเรื่อง การระลึกชาติ
แต่กำลังอธิบายความในเรื่อง ปฏิจจสมุปบาท ซึ่งเป็น โลกุตตระ และ ประกอบด้วยสุญญตาธรรม
ดังนั้น เมื่อกล่าวถึง "ชา-ติ" คือ การเกิดนี้ พระพุทธเจ้าตรัสว่า สิ่งที่ควรถามให้ถูกต้อง ก็คือ การถามว่า
อะไรเป็นเหตุปัจจัยแก่ ชาติ หรือ ชาติ เป็นเหตุปัจจัยให้เกิดอะไร เป็นต้น
แต่ถ้าเป็นการตั้งคำถามด้วยอำนาจแห่ง ตัณหา หรือ ทิฐิ เช่น การถามในทำนองว่า ชาติเป็นของใคร ? หรือ
ชาติเป็นอย่างไร ? เป็นต้น กรณีอย่างนี้ พระพุทธเจ้าตรัสว่า เป็นการตั้งคำถามไม่ถูก และ ไม่เป็นไปเพื่อการประพฤติธรรม
ประเด็น ก็คือ การที่ผมตอบแบบนี้ อธิบายความตามพระพุทธดำรัสแบบนี้ นับว่าเป็นการ "บิด" ได้อย่างไร ?
หรือ ถ้าหาก คันโตนาซี จะเห็นว่า การตั้งคำถามโง่ๆ ในทำนองว่า "ชาติมาจากไหน ?"
เป็นการตั้งคำถาม ที่สอดคล้องกับพระพุทธประสงค์ ก็จงชี้แจงออกมาให้ชัดเจนด้วย
ว่า การตั้งคำถามโง่ๆ แบบนั้น จักเป็นเหตุแห่งการประพฤติพรหมจรรย์ ได้อย่างไร ?
ขอให้แสดงหลักฐานอ้างอิงชั้นพุทธพจน์ ด้วยนะครับ (ถ้าหากจะมี อยู่จริง)
***************************************************************************
(๓) หลายท่านอาจยังไม่ทราบว่า อรรถกถาจารย์ ได้อธิบาย กรณี การตั้งคำถามผิด เอาไว้ว่าอย่างไร
อรรถกถาจารย์ ได้อธิบายความเอาไว้ว่า ที่จริงแล้ว การตั้งคำถามในทำนองว่า ชรามรณะเป็นไฉน ?
หรือ ชาติ เป็นไฉน ? ก็น่าจะเป็นการตั้งคำถามที่ดีได้ แต่ที่มันกลายเป็นการตั้งปัญหาที่เลว ก็เพราะ
การตั้งคำถามแบบนั้น เป็นการกล่าว ด้วยการเข้าไปยึดถือเอา สัตว์ บุคคล ว่าเป็น ตัวตน ของตน !
โดยอุปมา เปรียบเทียบเอาไว้ว่า เสมือนประหนึ่ง เอาก้อนคูถ วางไว้บนอาหารชั้นดี ที่ใส่ในถาดทอง
อาหารดังกล่าว ก็กลายเป็นอาหารชั้นเลว ที่กินไม่ได้ เพราะ ก้อนคูถ นั้นเอง
ท่านทั้งหลาย จะเห็นได้ว่า คำอธิบายของ อรรถกถาจารย์ มีความสอดคล้องกับพฤติการณ์ ของ คันโตนาซี เป็นอย่างยิ่ง
เพราะทั้งๆ ที่ถกเถียงกันในเรื่อง ปฏิจจสมุปบาท อยู่แท้ๆ แต่คนๆ นี้ กลับพยายาม จะตั้งคำถามโง่ๆ ในเรื่อง ชาติ(การเกิด)
โดยเนื่องกับ สัตว์ บุคคล ในกรณี (๑) การระลึกชาติ และ (๒) การเวียนว่ายตายเกิด ซึ่งย่อมส่อแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนถึง
การตั้งคำถามด้วยความยึดติดถือมั่นใน สัตว์ บุคคล ว่าเป็น ตัวตน ของตน ไม่ต่างไปจากพวกอัญญเดียรถีย์ นอกพระพุทธศาสนา
คันโตนาซี อาจยังไม่รู้ตัวว่า ข้อความในทำนอง คำถามโง่ๆ ของเขา
ได้ถูกอรรถกถาจารย์ เปรียบเทียบเอาไว้ก่อนหน้านี้แล้วว่า เหมือนกับ "ก้อนคูถ"
ดังนั้น ต่อให้ผม หรือใครๆ ตั้งใจตอบคำถามของมัน อย่างดีสักเพียงใด
ก็คงไม่มีทางจะตรงตามความต้องการ(ตัณหา)ของมันไปได้หรอก
จริงไหม ?