ก่อนที่จะรู้วิธีดับทุกข์ มารู้จักทุกข์กันก่อน
ความรู้สึกสุขทุกข์ มีได้ เพราะ มีเวทนา
เวทนา ถูกจัดแบ่ง ได้หลากหลาย แต่สรุป และแยกแยะ ให้เข้าใจครอบคลุม ก็มี 5 คือ
[112] เวทนา 5 (การเสวยอารมณ์ — feeling)
1. สุข (ความสุข ความสบายทางกาย — bodily pleasure or happiness)
2. ทุกข์ (ความทุกข์ ความไม่สบาย เจ็บปวดทางกาย — bodily pain; discomfort)
3. โสมนัส (ความแช่มชื่นสบายใจ, สุขใจ — mental happiness; joy)
4. โทมนัส (ความเสียใจ, ทุกข์ใจ — mental pain; displeasure; grief)
5. อุเบกขา (ความรู้สึกเฉยๆ — indifference)
http://www.84000.org/tipitaka/dic/d_item.php?i=112
จากการศึกษา พระไตรปิฏก ค้นแล้วค้นอีก พบว่า
ทุกข์กาย มิอาจดับได้ แม้บรรลุอรหันต์ (ตราบใดยังมีชีวิต ตราบนั้นยังมีทุกข์กาย ได้)
แต่ โทมนัส คือ ความทุกข์ใจ นั้น ดับได้สนิท เมื่อบรรลุอรหันต์
ดับทุกข์ในปัจจุบัน มิต้องรอชาติหน้า
ความรู้สึกสุขทุกข์ มีได้ เพราะ มีเวทนา
เวทนา ถูกจัดแบ่ง ได้หลากหลาย แต่สรุป และแยกแยะ ให้เข้าใจครอบคลุม ก็มี 5 คือ
[112] เวทนา 5 (การเสวยอารมณ์ — feeling)
1. สุข (ความสุข ความสบายทางกาย — bodily pleasure or happiness)
2. ทุกข์ (ความทุกข์ ความไม่สบาย เจ็บปวดทางกาย — bodily pain; discomfort)
3. โสมนัส (ความแช่มชื่นสบายใจ, สุขใจ — mental happiness; joy)
4. โทมนัส (ความเสียใจ, ทุกข์ใจ — mental pain; displeasure; grief)
5. อุเบกขา (ความรู้สึกเฉยๆ — indifference)
http://www.84000.org/tipitaka/dic/d_item.php?i=112
จากการศึกษา พระไตรปิฏก ค้นแล้วค้นอีก พบว่า
ทุกข์กาย มิอาจดับได้ แม้บรรลุอรหันต์ (ตราบใดยังมีชีวิต ตราบนั้นยังมีทุกข์กาย ได้)
แต่ โทมนัส คือ ความทุกข์ใจ นั้น ดับได้สนิท เมื่อบรรลุอรหันต์