ก่อนอื่น อธิบายก่อนว่า ทำไม ถึงมีประเด็น เร่งด่วนหรือไม่เร่งด่วน
เหตุผลคือ เพื่อไทยเลือกที่จะ ออกเป็นกฎหมายกู้เงินพิเศษที่ไม่ต้องอยู่ในพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี
มาตรา 169 ดูจาก spoil ด้านล่าง จะจ่ายเงินต้อง เอาไปใส่ในงบประมาณรายจ่ายประจำปี ยกเว้น กรณีเร่งด่วน
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้มาตรา 169 วรรค 1 การจ่ายเงินแผ่นดินจะกระทำได้เฉพาะที่ได้อนุญาตไว้ในกฎหมายว่าด้วยงบประมาณรายจ่าย กฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ กฎหมายเกี่ยวด้วยการโอนงบประมาณ หรือกฎหมายว่าด้วยเงินคงคลัง เว้นแต่ในกรณีจำเป็นเร่งด่วนรัฐบาลจ่ายไปก่อนก็ได้ แต่ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กฎหมายญัตติ ในกรณีเช่นว่านี้ต้องตั้งงบประมาณรายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคลังในพระราชบัญญัติโอนเงินงบประมาณรายจ่ายประจำปี งบประมาณถัดไป ทั้งนี้ ให้กำหนดแหล่งที่มาของรายได้เพื่อชดใช้รายจ่ายที่ได้ใช้เงินคงคลังจ่ายไปก่อนแล้วด้วย
ดังนั้นเพื่อไทย เป็นฝ่ายเลือก ที่จะตั้งงบแบบ เร่งด่วนเอง ศาลจึงต้องเป็นผู้ชี้ขาดว่า เร่งด่วนหรือไม่
ถ้าผ่านจะเกิดอะไรขึ้น
- รัฐบาลจะสามารถ จ่ายเงินได้ทันที และไม่ต้องเอาเรื่องนี้เข้าสภาอีกเลย ตลอด 7ปีที่มีการสร้างโครงสร้างพื้นฐาน (มีเพียงกระดาษ 2 หน้าเท่านั้น เพื่อให้สภา อนุมัติ งบกู้ผูกพันอีก 7ปี)
- เนื่องจากเร่งด่วน และไม่ใส่ในงบประมาณ เพราะฉะนั้นจะไม่สามารถตรวจสอบได้ก่อนการจ่ายเงิน ทำให้เกิดช่องทุจริตมากมาย
- เป็นการรวม โครงการณ์จำนวนมากเข้าเป็นก้อนเดียว โดย สภาไม่สามารถรู้ได้เลยว่าเอาไปใช้ทำอะไร เท่าไหร่
ในเมื่อศาลเห็นว่าไม่เร่งด่วน ก็ควรเคารพคำสั่งศาล (กว่าจะทำเสร็จตั้ง 7 ปี เร่งด่วนตรงไหน)
ถ้าอยากทำ ก็เอาใส่ในงบประมาณประจำปี จะได้มีการเข้า สภา ดูตัวเลข แจงแต่ละโครงการณ์ แล้วอนุมัติ ทีละโครงการณ์
ผมเห็นด้วยว่าโครงสร้างพื้นฐาน สมควรทำ แต่ 7 ปี มันไม่ใช่เร่งด่วนแน่นอน มีเวลาขนาดนี้ ควรเอาเข้างบประมาณประจำปีแบบปกติ เพื่อให้เห็น รายละเอียดต่างๆก่อนจ่ายเงินครับ
ปล
9-0 ศาลเห็นว่าไม่เร่งด่วน ฉะนั้นขัดรัฐธรรมนูญ (ย้ำอีกรอบ ที่มีประเด็นเร่งด่วน เพราะเพื่อไทยเลือกเอง)
6-2 ศาลเห็นว่ากระบวนการตรากฎหมายนี้ไม่ชอบ เพราะมีการเสียบบัตรแทนกัน
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้http://www.posttoday.com/วิเคราะห์/รายงานพิเศษ/283161/เปิดคำวินิจฉัยศาลรธน-ล้มพรบ-กู้2ล้านล้าน
ปล2
พรก กู้เงิน 3.5 แสนล้านบริหารจัดการน้ำ เพื่อไทยก็ไม่ใส่ในงบประมาณรายจ่ายประจำปี เพราะอ้างเป็นเร่งด่วน แล้วศาลก็เห็นว่า เร่งด่วนจริง
ไม่ขัดรัฐธรรมนูญแต่อย่างใด
จะเห็นว่าศาลไม่ได้ค้านอย่างเดียวครับ
เหตุผลที่ พรบ กู้เงิน 2 ล้านๆ ขัดรัฐธรรมนูญเพราะ ไม่เร่งด่วน
เหตุผลคือ เพื่อไทยเลือกที่จะ ออกเป็นกฎหมายกู้เงินพิเศษที่ไม่ต้องอยู่ในพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี
มาตรา 169 ดูจาก spoil ด้านล่าง จะจ่ายเงินต้อง เอาไปใส่ในงบประมาณรายจ่ายประจำปี ยกเว้น กรณีเร่งด่วน
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
ดังนั้นเพื่อไทย เป็นฝ่ายเลือก ที่จะตั้งงบแบบ เร่งด่วนเอง ศาลจึงต้องเป็นผู้ชี้ขาดว่า เร่งด่วนหรือไม่
ถ้าผ่านจะเกิดอะไรขึ้น
- รัฐบาลจะสามารถ จ่ายเงินได้ทันที และไม่ต้องเอาเรื่องนี้เข้าสภาอีกเลย ตลอด 7ปีที่มีการสร้างโครงสร้างพื้นฐาน (มีเพียงกระดาษ 2 หน้าเท่านั้น เพื่อให้สภา อนุมัติ งบกู้ผูกพันอีก 7ปี)
- เนื่องจากเร่งด่วน และไม่ใส่ในงบประมาณ เพราะฉะนั้นจะไม่สามารถตรวจสอบได้ก่อนการจ่ายเงิน ทำให้เกิดช่องทุจริตมากมาย
- เป็นการรวม โครงการณ์จำนวนมากเข้าเป็นก้อนเดียว โดย สภาไม่สามารถรู้ได้เลยว่าเอาไปใช้ทำอะไร เท่าไหร่
ในเมื่อศาลเห็นว่าไม่เร่งด่วน ก็ควรเคารพคำสั่งศาล (กว่าจะทำเสร็จตั้ง 7 ปี เร่งด่วนตรงไหน)
ถ้าอยากทำ ก็เอาใส่ในงบประมาณประจำปี จะได้มีการเข้า สภา ดูตัวเลข แจงแต่ละโครงการณ์ แล้วอนุมัติ ทีละโครงการณ์
ผมเห็นด้วยว่าโครงสร้างพื้นฐาน สมควรทำ แต่ 7 ปี มันไม่ใช่เร่งด่วนแน่นอน มีเวลาขนาดนี้ ควรเอาเข้างบประมาณประจำปีแบบปกติ เพื่อให้เห็น รายละเอียดต่างๆก่อนจ่ายเงินครับ
ปล
9-0 ศาลเห็นว่าไม่เร่งด่วน ฉะนั้นขัดรัฐธรรมนูญ (ย้ำอีกรอบ ที่มีประเด็นเร่งด่วน เพราะเพื่อไทยเลือกเอง)
6-2 ศาลเห็นว่ากระบวนการตรากฎหมายนี้ไม่ชอบ เพราะมีการเสียบบัตรแทนกัน
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
ปล2
พรก กู้เงิน 3.5 แสนล้านบริหารจัดการน้ำ เพื่อไทยก็ไม่ใส่ในงบประมาณรายจ่ายประจำปี เพราะอ้างเป็นเร่งด่วน แล้วศาลก็เห็นว่า เร่งด่วนจริง
ไม่ขัดรัฐธรรมนูญแต่อย่างใด
จะเห็นว่าศาลไม่ได้ค้านอย่างเดียวครับ