การเรียนวิปัสสนากรรมฐานนั้น พระมหาโชดกเขียนไว้ว่า เรียนได้ 2 ทางคือ
๑. เรียนอันดับ คือ เรียนให้รู้จักวิปัสสนาภูมิ ๖ ก่อน ได้แก่ เรียนให้รู้จัก ขันธ์ อายตนะ ธาตุ อินทรีย์ อริยสัจ ปฏิจจสมุปบาท โดยปริยัติก่อน แล้วจึงลงมือปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานต่อ
ภายหลังก็ได้ วิธีนี้ เหมาะสำหรับผู้มีเวลามาก
๒. เรียนสันโดษ คือ ไปเรียนวันนั้น ลงมือปฏิบัติวันนั้น ขณะนั้น ตามที่พระอาจารย์สอนให้ได้เลย เช่น วันแรกจะสอนให้ย่อๆ เพียง ๕ ข้อ เท่านั้น คือ
- เดินจงกรม
- นั่งลงภาวนา
- กำหนดเวทนาต่างๆ
- กำหนดใจนึกคิด
- เวลานอน กำหนดท้องพองยุบ เป็นต้น
แต่คำว่า
"เรียนสันโดษ" เป็นคำเก่ามีอยู่ในหนังสือ
“พุทธรังษีธฤษดีญาณ ว่าด้วยสมถแลวิปัสสนากัมมัฏฐาน ๔ ยุค” ซึ่งหนังสือดังกล่าวเขียนไว้ดังนี้ :
เรียนสันโดษนั้น คือ พระอาจารย์ชำนายในพระกรรมฐานอันใด เป็นต้นว่า กสิณ หรืออนุสสติ หรืออสุภ หรือ ปิติ หรือพรหมวิหารอย่างหนึ่งอย่างใด ก็ตั้งบอกตั้งเรียนในพระกรรมฐานนั้นๆ ตามความถนัดของตนๆ อย่างนี้ชื่อว่าเรียนสันโดษ
จะเห็นได้ว่าพระมหาโชดกมีนิสัยอย่างนี้ประจำ คือไปนำเอา
"ศัพท์" คนอื่นมาใช้ ในความหมายอย่างใหม่อย่างที่ท่านต้องการ
โดยไม่คำนึงถึงความถูกต้องของการสอน มุ่งแต่จะหลอกลวงคนอื่นๆ ว่า การสอนของพระพม่าดีกว่าการสอนของไทย
เชิญอ่านรายละเอียดอื่นๆ ได้ที่นี่ :
http://mahachodok2.blogspot.com/2013/10/blog-post_6774.html
การเรียนสันโดษของมหาโชดก
๑. เรียนอันดับ คือ เรียนให้รู้จักวิปัสสนาภูมิ ๖ ก่อน ได้แก่ เรียนให้รู้จัก ขันธ์ อายตนะ ธาตุ อินทรีย์ อริยสัจ ปฏิจจสมุปบาท โดยปริยัติก่อน แล้วจึงลงมือปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานต่อ
ภายหลังก็ได้ วิธีนี้ เหมาะสำหรับผู้มีเวลามาก
๒. เรียนสันโดษ คือ ไปเรียนวันนั้น ลงมือปฏิบัติวันนั้น ขณะนั้น ตามที่พระอาจารย์สอนให้ได้เลย เช่น วันแรกจะสอนให้ย่อๆ เพียง ๕ ข้อ เท่านั้น คือ
- เดินจงกรม
- นั่งลงภาวนา
- กำหนดเวทนาต่างๆ
- กำหนดใจนึกคิด
- เวลานอน กำหนดท้องพองยุบ เป็นต้น
แต่คำว่า "เรียนสันโดษ" เป็นคำเก่ามีอยู่ในหนังสือ “พุทธรังษีธฤษดีญาณ ว่าด้วยสมถแลวิปัสสนากัมมัฏฐาน ๔ ยุค” ซึ่งหนังสือดังกล่าวเขียนไว้ดังนี้ :
เรียนสันโดษนั้น คือ พระอาจารย์ชำนายในพระกรรมฐานอันใด เป็นต้นว่า กสิณ หรืออนุสสติ หรืออสุภ หรือ ปิติ หรือพรหมวิหารอย่างหนึ่งอย่างใด ก็ตั้งบอกตั้งเรียนในพระกรรมฐานนั้นๆ ตามความถนัดของตนๆ อย่างนี้ชื่อว่าเรียนสันโดษ
จะเห็นได้ว่าพระมหาโชดกมีนิสัยอย่างนี้ประจำ คือไปนำเอา "ศัพท์" คนอื่นมาใช้ ในความหมายอย่างใหม่อย่างที่ท่านต้องการ
โดยไม่คำนึงถึงความถูกต้องของการสอน มุ่งแต่จะหลอกลวงคนอื่นๆ ว่า การสอนของพระพม่าดีกว่าการสอนของไทย
เชิญอ่านรายละเอียดอื่นๆ ได้ที่นี่ :
http://mahachodok2.blogspot.com/2013/10/blog-post_6774.html