ปฏิรูปการเมือง (บท 1 ปฏิรูปโครงสร้าง)
สภาผู้แทนราษฎร 300 คน
1.1
สส.องค์กรวิชาชีพหรือองค์กรอิสระ 50 คน เช่น สภาหอ สภาอุต สมคมธนาคาร กลต. แพษท์สภา สภาทนาย สหภาพแรงงานองค์คุ้มครองผู้บริโภค
- เป็นที่ประจักชัดว่ากลุ่ม 40 สว.ที่มาจากการแต่งตั้งจากลุ่มอาชีพต่างๆ สามารถสะท้อนความต้องการของประชนได้ดีกว่า สส.พื้นที่ที่บางครั้งมุ่งรับใช้หัวหน้าภรรคหรือนายทุนภรรค จึงขอใช้โมเดลที่มีช่วยอีกทางหนึ่ง
- อย่างไรก็ตามอาจเป็นได้ที่สส.กลุ่มเมื่อถูกเลือกมาแล้วจะถูกซื้อได้ ดังนั้นจึงต้องกำหนดให้การลงมติที่สำคัญต้องได้รับมติเห็นชอบจากองค์กรที่ตนมา เช่น อภิปรายไม่ไว้วางใจ เสนอหรือถอยถอนคณะรัฐมนตรี
- หน่วยงานที่มีสิทธิเสนอสส.ได้ต้องมีบทบัญญัติให้สมาชิก หรือกรรมาการบริหารองค์กรนั้นๆ ถอดถอนได้ เพื่อให้ผู้แทนนั้นมีความรับผิดชอบต่อองค์กร เป็นผู้แทนองค์กรจริงๆ(เสมือนหนึ่งเลือกที่องค์กรมิใช่ตัวบุคคล)
1.2
สส.กลุ่มอาชีพ 100 คน เช่น เกษตรกร นักธุรกิจ หมอ ตำรวจ ครู นักศึกษา ผู้ใช้แรงงาน วิศวะ นักกฎหมาย
- เลือกตั้งตามกลุ่มอาชีพที่ได้ลงทะเบียนไว้ ก่อนการเลือกตั้งไม่น้อยกว่า 6 เดือน
- เลือกพร้อมสส.พื้นที่
- ซื้อเสียงได้ยาก
- สส.ที่ได้จะมีความรู้ความสามารถเรื่องนั้น
- สัดส่วนขึ้นอยู่กับจำนวนกลุ่มอาชีพที่ได้ลงทะเบียนไว้
- โดยกลุ่มอาชีพนั้นต้องไม่มีข้าราชการเกิน 1 ใน 3 และรวมแล้วต้องไม่มีข้าราชการหรืออดีข้าราชการเกินกึ่งหนึ่ง
1.3
สส.พื้นที่ 100 คน
- ไม่มีสิทธิเป็นข้าราชการการเมืองหรือครม. อย่างน้อยจังหวัดละ 1 คน จังหวัดใหญ่ประชากรเยอะก็เฉลี่ยกันไป เช่น กทม. คะแนนที่สส.พื้นที่ได้แม้จะไม่ได้รับการเลือกตั้งแต่จะนำคะแนนที่ได้นั้นไปคำนวณจำนวนสส.บัญชีรายชื่อ (เลือกครั้งเดียว/ใบเดียวได้ทั้งสส.พื้นที่และบัญชีรายชื่อ)
1.4
สส.บัญชีรายชื่อ 50 คน
- สส .กลุ่มนี้เท่านั้นที่มีสิทธิเป็นครม.
- กรรมการบริหารพรรคเท่านั้นจึงจะมีสิทธิเป็นสส.บัญชีรายชื่อและครม.
- การจัดทำบัญชีรายชื่อให้จัดทำเป็นรายกระทรวงๆ ละไม่เกิน 3 คน ให้แล้วเสร็จก่อนการเลือกตั้งไม่น้อยกว่า 30 วัน (รวมนายกด้วย) ทั้งนี้รายชื่อดังกล่าวไม่สามารถเปลี่ยนกระทรวงได้จนกว่าจะมีการเลือกตั้งใหม่ในวาระถัดไป เพื่อให้ประชาชนเห็นว่าใครจะมาเป็นรมต.กระทรวงอะไร มีความรู้ความสามารถหรือไม่ ,ไม่ใช่พวกนายทุนของพรรค (แข่งขันด้านนโยบบาย)
- เฉพาะกรณีนายกรัฐมนตรี หากพรรคที่ได้จำนวน สส.พื้นที่และบัญชีรายชื่อมากที่สุด ไม่มีบุคคลที่จัดทำบัญชีไว้ปฏิบัติหน้าที่หรือรับตำแหน่งได้ ให้ถือว่าพรรคนั้นไม่มีผู้ที่เหมาะสม ให้พรรคอื่นๆ เสนอชื่อบุคคลที่บัญชีรายชื่อกำหนดไว้ในตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของแต่ละพรรคให้สภาเพื่อพิจารณาแทน
ปฏิรูปการเมือง (บท 2 ปฏิรูพรรคการเมือง)
2.1. โครงสร้างพรรคการเมือง
- กรรมการบริหาร มาจาการเลือกตั้งของกรรมกรพรรค
- กรรมการพรรค มาจากการเลือกตั้งของสมาชิกพรรคในจังหวัดต่างๆ
- กรรมการบริหารเท่านั้นจึงจะมีสิทธิถูกเสนอชื่อเป็นสส.บัญชีรายชื่อ หรือครม.ได้
- การจัดทำบัญชี สส.แบบบัญชีรายให้ผ่านที่ประชุมกรรมการพรรค
- การคัดเลือกผู้ลงรับสมัคร สส.พื้นที่ให้สมาชิกพรรคใจจังหวัดนั้นๆ เป็นผู้พิจารณาคัดเลือก เพื่อให้สส.รับใช้ประชาชนไม่ใช่หัวหน้าหรือแกนนำพรรค
2.2. สำนักงานพรรคการเมือง
- เจ้าหน้าที่และสำนักงานสำหรับสำนักงานใหญ่ให้พรรคการเมืองเป็นผู้จัดหาเอง
- สำนักงานพรรคการเมืองในจังหวัดอื่นนอกเหนือจากสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ให้ใช้พื้นที่ของส่วนราชการเป็นนำนักงาน และมีเจ้าหน้าที่ของรัฐเป็นเลขาพรรคการเมืองเพื่อควบคุมดูและให้ปฏิบัติตามกฎหมายพรรคการเมือง
- เงินเดือนเจ้าหน้าที่ให้หักออกจากเงินสนับสนุนพรรคการเมืองที่รัฐสนับสนุนให้
- การคัดเลือก บรรจจุ แต่งตั้ง โยกย้านเจ้าหน้าที่ให้เป็นไปตามระเบียบของส่วนราชการ
เสนอโดยว่าที่รต.เกรียงไกร ลาวพวน
ปฏิรูปโครงสร้าง สส.+พรรคการเมืองใหม่ แบบนี้ดีไหมครับ
สภาผู้แทนราษฎร 300 คน
1.1 สส.องค์กรวิชาชีพหรือองค์กรอิสระ 50 คน เช่น สภาหอ สภาอุต สมคมธนาคาร กลต. แพษท์สภา สภาทนาย สหภาพแรงงานองค์คุ้มครองผู้บริโภค
- เป็นที่ประจักชัดว่ากลุ่ม 40 สว.ที่มาจากการแต่งตั้งจากลุ่มอาชีพต่างๆ สามารถสะท้อนความต้องการของประชนได้ดีกว่า สส.พื้นที่ที่บางครั้งมุ่งรับใช้หัวหน้าภรรคหรือนายทุนภรรค จึงขอใช้โมเดลที่มีช่วยอีกทางหนึ่ง
- อย่างไรก็ตามอาจเป็นได้ที่สส.กลุ่มเมื่อถูกเลือกมาแล้วจะถูกซื้อได้ ดังนั้นจึงต้องกำหนดให้การลงมติที่สำคัญต้องได้รับมติเห็นชอบจากองค์กรที่ตนมา เช่น อภิปรายไม่ไว้วางใจ เสนอหรือถอยถอนคณะรัฐมนตรี
- หน่วยงานที่มีสิทธิเสนอสส.ได้ต้องมีบทบัญญัติให้สมาชิก หรือกรรมาการบริหารองค์กรนั้นๆ ถอดถอนได้ เพื่อให้ผู้แทนนั้นมีความรับผิดชอบต่อองค์กร เป็นผู้แทนองค์กรจริงๆ(เสมือนหนึ่งเลือกที่องค์กรมิใช่ตัวบุคคล)
1.2 สส.กลุ่มอาชีพ 100 คน เช่น เกษตรกร นักธุรกิจ หมอ ตำรวจ ครู นักศึกษา ผู้ใช้แรงงาน วิศวะ นักกฎหมาย
- เลือกตั้งตามกลุ่มอาชีพที่ได้ลงทะเบียนไว้ ก่อนการเลือกตั้งไม่น้อยกว่า 6 เดือน
- เลือกพร้อมสส.พื้นที่
- ซื้อเสียงได้ยาก
- สส.ที่ได้จะมีความรู้ความสามารถเรื่องนั้น
- สัดส่วนขึ้นอยู่กับจำนวนกลุ่มอาชีพที่ได้ลงทะเบียนไว้
- โดยกลุ่มอาชีพนั้นต้องไม่มีข้าราชการเกิน 1 ใน 3 และรวมแล้วต้องไม่มีข้าราชการหรืออดีข้าราชการเกินกึ่งหนึ่ง
1.3 สส.พื้นที่ 100 คน
- ไม่มีสิทธิเป็นข้าราชการการเมืองหรือครม. อย่างน้อยจังหวัดละ 1 คน จังหวัดใหญ่ประชากรเยอะก็เฉลี่ยกันไป เช่น กทม. คะแนนที่สส.พื้นที่ได้แม้จะไม่ได้รับการเลือกตั้งแต่จะนำคะแนนที่ได้นั้นไปคำนวณจำนวนสส.บัญชีรายชื่อ (เลือกครั้งเดียว/ใบเดียวได้ทั้งสส.พื้นที่และบัญชีรายชื่อ)
1.4 สส.บัญชีรายชื่อ 50 คน
- สส .กลุ่มนี้เท่านั้นที่มีสิทธิเป็นครม.
- กรรมการบริหารพรรคเท่านั้นจึงจะมีสิทธิเป็นสส.บัญชีรายชื่อและครม.
- การจัดทำบัญชีรายชื่อให้จัดทำเป็นรายกระทรวงๆ ละไม่เกิน 3 คน ให้แล้วเสร็จก่อนการเลือกตั้งไม่น้อยกว่า 30 วัน (รวมนายกด้วย) ทั้งนี้รายชื่อดังกล่าวไม่สามารถเปลี่ยนกระทรวงได้จนกว่าจะมีการเลือกตั้งใหม่ในวาระถัดไป เพื่อให้ประชาชนเห็นว่าใครจะมาเป็นรมต.กระทรวงอะไร มีความรู้ความสามารถหรือไม่ ,ไม่ใช่พวกนายทุนของพรรค (แข่งขันด้านนโยบบาย)
- เฉพาะกรณีนายกรัฐมนตรี หากพรรคที่ได้จำนวน สส.พื้นที่และบัญชีรายชื่อมากที่สุด ไม่มีบุคคลที่จัดทำบัญชีไว้ปฏิบัติหน้าที่หรือรับตำแหน่งได้ ให้ถือว่าพรรคนั้นไม่มีผู้ที่เหมาะสม ให้พรรคอื่นๆ เสนอชื่อบุคคลที่บัญชีรายชื่อกำหนดไว้ในตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของแต่ละพรรคให้สภาเพื่อพิจารณาแทน
ปฏิรูปการเมือง (บท 2 ปฏิรูพรรคการเมือง)
2.1. โครงสร้างพรรคการเมือง
- กรรมการบริหาร มาจาการเลือกตั้งของกรรมกรพรรค
- กรรมการพรรค มาจากการเลือกตั้งของสมาชิกพรรคในจังหวัดต่างๆ
- กรรมการบริหารเท่านั้นจึงจะมีสิทธิถูกเสนอชื่อเป็นสส.บัญชีรายชื่อ หรือครม.ได้
- การจัดทำบัญชี สส.แบบบัญชีรายให้ผ่านที่ประชุมกรรมการพรรค
- การคัดเลือกผู้ลงรับสมัคร สส.พื้นที่ให้สมาชิกพรรคใจจังหวัดนั้นๆ เป็นผู้พิจารณาคัดเลือก เพื่อให้สส.รับใช้ประชาชนไม่ใช่หัวหน้าหรือแกนนำพรรค
2.2. สำนักงานพรรคการเมือง
- เจ้าหน้าที่และสำนักงานสำหรับสำนักงานใหญ่ให้พรรคการเมืองเป็นผู้จัดหาเอง
- สำนักงานพรรคการเมืองในจังหวัดอื่นนอกเหนือจากสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ให้ใช้พื้นที่ของส่วนราชการเป็นนำนักงาน และมีเจ้าหน้าที่ของรัฐเป็นเลขาพรรคการเมืองเพื่อควบคุมดูและให้ปฏิบัติตามกฎหมายพรรคการเมือง
- เงินเดือนเจ้าหน้าที่ให้หักออกจากเงินสนับสนุนพรรคการเมืองที่รัฐสนับสนุนให้
- การคัดเลือก บรรจจุ แต่งตั้ง โยกย้านเจ้าหน้าที่ให้เป็นไปตามระเบียบของส่วนราชการ
เสนอโดยว่าที่รต.เกรียงไกร ลาวพวน