นายชวน หลีกภัย ขึ้นเป็นผู้นำ พร้อมสโลแกน "
ผมเชื่อมั่นในระบบรัฐสภา"
สนธิลิ้มพูดไว้ไม่ผิดเลยจริงๆ ว่า ปชป. เป็นอย่างไร
เรายึดมั่นในระบบรัฐสภา เป็นสิ่งที่พรรค ประชาธิปัตย์ ใช้มาตลอด จนถือเป็นธรรมเนียมปฏิบัติของพรรคนี้
หลังจากที่นาย อภิสิทธิ์ ทำหน้าที่ หัวหน้าพรรค พฤติกรรมของพรรคประชาธิปัตย์ ก็เปลี่ยนไป จากพรรคที่ใช้หลักการ เปลี่ยนเป็นหลัก "กู"
จากการต่อสู้ในรัฐสภา เปลี่ยนเป็นการเมืองข้างถนน ที่เรียกอย่างสวยหรูว่า "การเมืองภาคประชาชน" ความวุ่นวายทางการเมือง นั่นคือจุดเริ่มต้น
เรื่องใดที่ไม่ใช่พรรค ตัวเองเสนอ ประชาธิปัตย์ จะค้านและต่อต้าน อย่างเป็นล่ำเป็นสัน และแพ้ไม่เป็น
67 ปี ของประชาธิปัตย์ น่าจะสั่งสม คุณงามความดี เพราะผ่านร้อน ผ่านหนาว เจอมรสุม ต่าง ๆ มากมาย แต่การกระทำของคนในพรรคประชาธิปัตย์ กลับ ไม่เป็นเช่นนั้น
ประชาธิปัตย์ ค้านทุกอย่างที่ขวางหน้า ค้านแบบหัวชนฝา ถึงขั้น อาละวาด ในสภา ไม่ต่างจากพฤติกรรมของนักเลงอันธพาล ถ้าทำกันหลาย ๆ คน จะเรียกว่า แก้ง
เหมือนอย่างที่เวลานี้ ประกาศ ตน อย่างชัดเจนว่า ถ้าสู้ในสภาไม่ได้ ก็จะออกมาเคียงข้างกับประชาชน เริ่มจากหัวหน้าพรรค อภิสิทธิ เวชชาชีวะ นายสุเทพ เทือกสุบรรณ นายนิพิฏฐ์ อินทรสมบัติ และนายสาธิต วงหนองเตย ซึ่งล้วนแต่เป็นนักการเมืองระดับแนวหน้าของพรรคประชาธิปัตย์
หลักการประชาธิปไตย และการยึดมั่นในระบบรัฐสภา ก็เป็นเพียง วาทะกรรม ที่เป็นการพูดให้ดูดี หรือ ดีแต่พูด
การพัฒนาประชาธิปไตย ที่พูด ๆ กัน ไม่ใช่เริ่มต้นที่ประชาชน แต่ควรเริ่มจาก พรรคการเมือง แสดงให้เห็นเป็นตัวอย่าง
การเคารพกฏเกณฑ์ เป็นสิ่งที่ปฏิบัติกันทั่วไป ไม่ว่าจะ สถาบันครอบครัว สังคม และประเทศชาติ
เมื่อนำเสนอ หลักการ นโยบาย ออกไป ใครได้เป็นที่ยอมรับของสังคมส่วนใหญ่ ก็สามารถใช้ สิ่งที่ประกาศนั้น มาขับเคลื่อนได้ โดยอีกฝั่งที่ สังคมยอมรับ น้อยกว่า ก็ต้องปฏิบัติตาม
ตามแบบอย่างที่อาระยะประเทศที่ปกครอง โดยระบบประชาธิปไตย เขาปฏิบัติกัน
การไม่ยอมรับกติการจากคนหมู่มาก เขาเรียกว่า ขี้แพ้ชวนตี ซึ่ง วิญญูชน เขาไม่ประพฤติกัน
อยากให้เป็นที่ยอมรับของคนหมู่มาก จำเป็นต้องเสนอในสิ่งที่ดีกว่า แล้วก็จะเป็นผู้ชนะในที่สุด
การได้มา ตามกฏกติก มันสง่า กว่า แพ้ไม่เป็น
ซึ่งไม่ต่างอะไรจาก อันธพาล
“ผมเชื่อมั่นในระบบรัฐสภา” ผมเสียดายหลักการดี ๆ ของ ปชป.
สนธิลิ้มพูดไว้ไม่ผิดเลยจริงๆ ว่า ปชป. เป็นอย่างไร
เรายึดมั่นในระบบรัฐสภา เป็นสิ่งที่พรรค ประชาธิปัตย์ ใช้มาตลอด จนถือเป็นธรรมเนียมปฏิบัติของพรรคนี้
หลังจากที่นาย อภิสิทธิ์ ทำหน้าที่ หัวหน้าพรรค พฤติกรรมของพรรคประชาธิปัตย์ ก็เปลี่ยนไป จากพรรคที่ใช้หลักการ เปลี่ยนเป็นหลัก "กู"
จากการต่อสู้ในรัฐสภา เปลี่ยนเป็นการเมืองข้างถนน ที่เรียกอย่างสวยหรูว่า "การเมืองภาคประชาชน" ความวุ่นวายทางการเมือง นั่นคือจุดเริ่มต้น
เรื่องใดที่ไม่ใช่พรรค ตัวเองเสนอ ประชาธิปัตย์ จะค้านและต่อต้าน อย่างเป็นล่ำเป็นสัน และแพ้ไม่เป็น
67 ปี ของประชาธิปัตย์ น่าจะสั่งสม คุณงามความดี เพราะผ่านร้อน ผ่านหนาว เจอมรสุม ต่าง ๆ มากมาย แต่การกระทำของคนในพรรคประชาธิปัตย์ กลับ ไม่เป็นเช่นนั้น
ประชาธิปัตย์ ค้านทุกอย่างที่ขวางหน้า ค้านแบบหัวชนฝา ถึงขั้น อาละวาด ในสภา ไม่ต่างจากพฤติกรรมของนักเลงอันธพาล ถ้าทำกันหลาย ๆ คน จะเรียกว่า แก้ง
เหมือนอย่างที่เวลานี้ ประกาศ ตน อย่างชัดเจนว่า ถ้าสู้ในสภาไม่ได้ ก็จะออกมาเคียงข้างกับประชาชน เริ่มจากหัวหน้าพรรค อภิสิทธิ เวชชาชีวะ นายสุเทพ เทือกสุบรรณ นายนิพิฏฐ์ อินทรสมบัติ และนายสาธิต วงหนองเตย ซึ่งล้วนแต่เป็นนักการเมืองระดับแนวหน้าของพรรคประชาธิปัตย์
หลักการประชาธิปไตย และการยึดมั่นในระบบรัฐสภา ก็เป็นเพียง วาทะกรรม ที่เป็นการพูดให้ดูดี หรือ ดีแต่พูด
การพัฒนาประชาธิปไตย ที่พูด ๆ กัน ไม่ใช่เริ่มต้นที่ประชาชน แต่ควรเริ่มจาก พรรคการเมือง แสดงให้เห็นเป็นตัวอย่าง
การเคารพกฏเกณฑ์ เป็นสิ่งที่ปฏิบัติกันทั่วไป ไม่ว่าจะ สถาบันครอบครัว สังคม และประเทศชาติ
เมื่อนำเสนอ หลักการ นโยบาย ออกไป ใครได้เป็นที่ยอมรับของสังคมส่วนใหญ่ ก็สามารถใช้ สิ่งที่ประกาศนั้น มาขับเคลื่อนได้ โดยอีกฝั่งที่ สังคมยอมรับ น้อยกว่า ก็ต้องปฏิบัติตาม
ตามแบบอย่างที่อาระยะประเทศที่ปกครอง โดยระบบประชาธิปไตย เขาปฏิบัติกัน
การไม่ยอมรับกติการจากคนหมู่มาก เขาเรียกว่า ขี้แพ้ชวนตี ซึ่ง วิญญูชน เขาไม่ประพฤติกัน
อยากให้เป็นที่ยอมรับของคนหมู่มาก จำเป็นต้องเสนอในสิ่งที่ดีกว่า แล้วก็จะเป็นผู้ชนะในที่สุด
การได้มา ตามกฏกติก มันสง่า กว่า แพ้ไม่เป็น
ซึ่งไม่ต่างอะไรจาก อันธพาล