ก็แค่จะเข้ามาบอกว่า เป็นอรรถกถาจารย์ นั่นเอง ที่เป็นผู้กล่าวว่า ............
(๑) สิ่งทั้งปวงมีอยู่ = สัสสตทิฐิ = ความเห็นว่าเที่ยง
(๒) สิ่งทั้งปวงไม่มีอยู่ = อุจเฉททิฐิ = ความเห็นว่าขาดสูญ
ทั้งนี้ พระพุทธเจ้า ได้ตรัสเอาไว้อย่างชัดเจนว่า เพราะถือมั่นใน ขันธ์ ๕ จึงเกิด ทิฐิ ว่า
(๑) สัตว์ตายแล้วเกิดอีก เพราะเห็นว่าเที่ยง (ตลอดอนันตกาล) = สัสสตทิฐิ = ความเห็นว่าเที่ยง
(๒) สัตว์ตายแล้วไม่เกิดอีก เพราะเห็นว่าเที่ยง (บางช่วงเวลา) = อุจเฉททิฐิ = ความเห็นว่าขาดสูญ
อีกทั้ง เมื่อพิจารณา หลักฐานจาก สุตตนิบาต จะพบข้อเท็จจริง ดังนี้ว่า
(๑) เทวดาและมนุษย์บางพวก ย่อมยึดติดถือมั่น ยินดี และ เพลิดเพลินในภพ ด้วยความเห็นว่าเที่ยง กล่าวคือ เมื่อตายแล้ว ย่อมเกิดอีก
(๒) เทวดาและมนุษย์บางพวก อึดอัดระอา เกลียดชังในภพ ย่อมเพลิดเพลินความขาดสูญ ด้วยความเห็นว่า เบื้องหน้าแต่ตาย ย่อมไม่เกิดอีก
(๓) แต่ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ย่อมเห็นขันธ์ ๕ ที่เกิดแล้วโดยความเป็นจริง
ครั้นเห็นขันธ์ ๕ ที่เกิดแล้วโดยความเป็นจริง ย่อมเป็นผู้ปฏิบัติเพื่อความเบื่อหน่ายเพื่อคลายกำหนัด เพื่อดับขันธ์ ๕ ที่เกิดแล้ว !
ดังนั้น จึงสามารถสรุปความ ตามหลักฐาน จากพระไตรปิฎก และ อรรถกถา ได้ว่า .....................
(๑) สิ่งทั้งปวงมีอยู่ = สัสสตทิฐิ = ความเห็นว่าเที่ยง = สัตว์ตายแล้วเกิดอีก
(๒) สิ่งทั้งปวงไม่มีอยู่ = อุจเฉททิฐิ = ความเห็นว่าขาดสูญ = สัตว์ตายแล้วไม่เกิดอีก
สวัสดี
สิ่งทั้งปวงมีอยู่ = ตายแล้วเกิด สิ่งทั้งปวงไม่มีอยู่ = ตายแล้วสูญ
ก็แค่จะเข้ามาบอกว่า เป็นอรรถกถาจารย์ นั่นเอง ที่เป็นผู้กล่าวว่า ............
(๑) สิ่งทั้งปวงมีอยู่ = สัสสตทิฐิ = ความเห็นว่าเที่ยง
(๒) สิ่งทั้งปวงไม่มีอยู่ = อุจเฉททิฐิ = ความเห็นว่าขาดสูญ
ทั้งนี้ พระพุทธเจ้า ได้ตรัสเอาไว้อย่างชัดเจนว่า เพราะถือมั่นใน ขันธ์ ๕ จึงเกิด ทิฐิ ว่า
(๑) สัตว์ตายแล้วเกิดอีก เพราะเห็นว่าเที่ยง (ตลอดอนันตกาล) = สัสสตทิฐิ = ความเห็นว่าเที่ยง
(๒) สัตว์ตายแล้วไม่เกิดอีก เพราะเห็นว่าเที่ยง (บางช่วงเวลา) = อุจเฉททิฐิ = ความเห็นว่าขาดสูญ
อีกทั้ง เมื่อพิจารณา หลักฐานจาก สุตตนิบาต จะพบข้อเท็จจริง ดังนี้ว่า
(๑) เทวดาและมนุษย์บางพวก ย่อมยึดติดถือมั่น ยินดี และ เพลิดเพลินในภพ ด้วยความเห็นว่าเที่ยง กล่าวคือ เมื่อตายแล้ว ย่อมเกิดอีก
(๒) เทวดาและมนุษย์บางพวก อึดอัดระอา เกลียดชังในภพ ย่อมเพลิดเพลินความขาดสูญ ด้วยความเห็นว่า เบื้องหน้าแต่ตาย ย่อมไม่เกิดอีก
(๓) แต่ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ย่อมเห็นขันธ์ ๕ ที่เกิดแล้วโดยความเป็นจริง
ครั้นเห็นขันธ์ ๕ ที่เกิดแล้วโดยความเป็นจริง ย่อมเป็นผู้ปฏิบัติเพื่อความเบื่อหน่ายเพื่อคลายกำหนัด เพื่อดับขันธ์ ๕ ที่เกิดแล้ว !
ดังนั้น จึงสามารถสรุปความ ตามหลักฐาน จากพระไตรปิฎก และ อรรถกถา ได้ว่า .....................
(๑) สิ่งทั้งปวงมีอยู่ = สัสสตทิฐิ = ความเห็นว่าเที่ยง = สัตว์ตายแล้วเกิดอีก
(๒) สิ่งทั้งปวงไม่มีอยู่ = อุจเฉททิฐิ = ความเห็นว่าขาดสูญ = สัตว์ตายแล้วไม่เกิดอีก
สวัสดี