อาจารย์วัลลภา นีละไพจิตร ซึ่งท่านเป็นสมาชิกชมรมมุสลิมเพื่อสันติภาพไม่นิยมความรุนแรง เป็นสมาชิกอาวุโส และตัวท่านเองทำงานให้ภาครัฐมาหลายรัฐบาล และเป็นคณะอนุกรรมาธิการร่วม รัฐสภา
ในการสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างศาสนา และโดยเฉพาะกลุ่มสตรีในสามจังหวัดภาคใต้ คนทำงานไม่ว่าจากภาคส่วนไหน จนถึงภาคเอกชน นั้นเหนื่อยยาก ลำบาก สิ่งที่ ทุกคนอยากเห็นคือความร่วมมือกันแก้ปัญหาของชาต เป็นวาระแห่งชาต ทุกอย่างต้องบูรณาการกัน งานการถึงจะสำเร็จลุล่วงไปได้ มิใช่คนทำก็ทำไป คนตำหนิ ก็ตำหนิไป คนแยง ยุให้รำตำให้รั่ว ก็ ทำกันไป ปัญหาของชาตในทุกเรื่องในประเทศไทย ไม่ยากก็ทำให้ดุเหมือนยากไป การปรับเปลี่ยนแก้ใขระบบคิด เท่านั้นที่จะทำให้ชาตไทยเดินหน้ารอดไปได้ อย่างมั่นคง
ด้วยหลักคิดแบบนี้ ของคนทำงาน รวมกระทั่งตัวผม จึงกลายเป็นที่มาของคำถามจาก ท่านอาจารย์วัลลภา นีละไพจิตร ว่า
หลายๆ โรงพยาบาลในประเทศไทยไม่อนุญาตให้ "พยาบาลมุสลิมะฮฺ" (ผู้หญิงอิสลาม) ใส่ชุดแต่งกายตามหลักการทางศาสนาเพื่อทำงานตามหน้าที่ !...
...โดย (อาจจะ) ให้เหตุผลว่า "ไม่เหมาะสม" หรืออ้างว่า "ไม่สะอาด"...ฯลฯ
อยากถามว่า...
"ความเหมาะสม/ไม่เหมาะสม" ใช้เกณฑ์จากอะไร ?
"ความสะอาด/ไม่สะอาด" ใช้หลักฐานจากใหน ?
..........................................................
รูปประกอบ "พยาบาลในประเทศมาเลเซีย"
Ref. ;
http://news.asiaone.com/News/AsiaOne%2BNews/Malaysia/Story/A1Story20120507-344327.html
.
เสียงถามจากผู้นำกลุ่มสตรีมุสลิม 14 กลุ่ม ที่ทำงานเพื่อประเทศชาติ
อาจารย์วัลลภา นีละไพจิตร ซึ่งท่านเป็นสมาชิกชมรมมุสลิมเพื่อสันติภาพไม่นิยมความรุนแรง เป็นสมาชิกอาวุโส และตัวท่านเองทำงานให้ภาครัฐมาหลายรัฐบาล และเป็นคณะอนุกรรมาธิการร่วม รัฐสภา
ในการสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างศาสนา และโดยเฉพาะกลุ่มสตรีในสามจังหวัดภาคใต้ คนทำงานไม่ว่าจากภาคส่วนไหน จนถึงภาคเอกชน นั้นเหนื่อยยาก ลำบาก สิ่งที่ ทุกคนอยากเห็นคือความร่วมมือกันแก้ปัญหาของชาต เป็นวาระแห่งชาต ทุกอย่างต้องบูรณาการกัน งานการถึงจะสำเร็จลุล่วงไปได้ มิใช่คนทำก็ทำไป คนตำหนิ ก็ตำหนิไป คนแยง ยุให้รำตำให้รั่ว ก็ ทำกันไป ปัญหาของชาตในทุกเรื่องในประเทศไทย ไม่ยากก็ทำให้ดุเหมือนยากไป การปรับเปลี่ยนแก้ใขระบบคิด เท่านั้นที่จะทำให้ชาตไทยเดินหน้ารอดไปได้ อย่างมั่นคง
ด้วยหลักคิดแบบนี้ ของคนทำงาน รวมกระทั่งตัวผม จึงกลายเป็นที่มาของคำถามจาก ท่านอาจารย์วัลลภา นีละไพจิตร ว่า
หลายๆ โรงพยาบาลในประเทศไทยไม่อนุญาตให้ "พยาบาลมุสลิมะฮฺ" (ผู้หญิงอิสลาม) ใส่ชุดแต่งกายตามหลักการทางศาสนาเพื่อทำงานตามหน้าที่ !...
...โดย (อาจจะ) ให้เหตุผลว่า "ไม่เหมาะสม" หรืออ้างว่า "ไม่สะอาด"...ฯลฯ
อยากถามว่า...
"ความเหมาะสม/ไม่เหมาะสม" ใช้เกณฑ์จากอะไร ?
"ความสะอาด/ไม่สะอาด" ใช้หลักฐานจากใหน ?
..........................................................
รูปประกอบ "พยาบาลในประเทศมาเลเซีย"
Ref. ; http://news.asiaone.com/News/AsiaOne%2BNews/Malaysia/Story/A1Story20120507-344327.html
.