สืบเนื่องกับกระทู้
http://ppantip.com/topic/30021399/comment17-1
ความหมายของ โยนิโสมนสิการ
ผม แสดง คคหไว้ ดังนี้
ความคิดเห็นที่ 17-1
สังคีติกาจารย์ กล่าวไว้ว่า (มหา วิ ๔/๑/๑ _ โพธิสูตรที่ ๑ ๒ ๓ แห่ง โพธิวรรค อุ ขุ ๒๕/๗๓/๓๘ _
(ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ์ หน้า ๕ พุทธทาสภิกขุ)
ก็ ไม่ ควร จะ สังคีติ ขัดกับ พระสูตร นี้
(ว่าด้วย ปฏิจจสมุปบาท เกี่ยวกับ ความเป็นพระพุทธเจ้า _ ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ์ หน้า ๔๖๑ พุทธทาสภิกขุ)
พระสูตรที่ ๕ มหาวรรค อภิสมยสังยุตต์ นิทาน สํ ๑๖/๑๒๖/๒๕๐
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
ครั้งก่อนแต่การตรัสรู้ เมื่อเรายังไม่ได้ตรัสรู้ ยังเป้นโพธิสัตว์อยู่ ฯลฯ
โดยย่อ
ทรงปริวิตก ธรรม คือ ปฏิจจสมุปบาท แบบ ที่ ไม่ได้ ตรัส ตั้งต้นที่ อวิชชา สังขาร วิญญาณ ฯ
แต่ ตั้งต้นที่
(๑) "การออกจากทุกข์ _____ ทุกข์? ____ ทุกข์อริยสัจ (อุปาทานขันธ์) หรือ ทุกข์ไตรลักษณ์)
(๒) (ทุกข์) คือ __ ชรามรณะนี้ (ที่ เป็นธรรมดาของ สังขตธรรม เป็นทุกข์ไตรลักษณ์ / ยังไม่ตรัสรู้ ทุกข์อริยสัจ แต่ กำลัง จะตรัสรู้ ฯ)
(๓) จักปรากฎขึ้นได้อย่างไร?
พระสุตรนี้
ไม่ ทรงปริวิตก ด้วย คำว่า "ในการรับรู้อารมณ์ของจิตก็เป็นเช่นเดียวกันครับ" (ใช่หรือไม่?)
ดังนั้น
สาวกของพระบรมศาสดา ไม่ว่าสมัยไหน
เมื่อจะ "ตีความ" ด้วย การโยนิโสมนสิการ ซึ่ง สิ่งที่ตรัสคำว่า ___ วิญญาณ ___ ที่ได้แก่ อาการที่ ๓ (อวิชชา _ สังขาร _ วิญญาณ) ว่า
วิญญาณ นี้ คือ ? ___ ใช่ วิญญาณ ___ ตรง ที่ตรัสที่ อาการ ที่๖ คำว่า ___ "ผัสสะ" ความประจวบพร้อมแห่งธรรม ๓ คือ อายตนะในด้วย อายตนะนอกด้วย วิญญาณ ที่ทำหน้าที่รู้แจ้ง (consciousness) ที่ อายตนะใน นี้คือผัสสะ นั้น
(๑) ทำไม ต้อง ไป เอาคำ (ที่พระพุทะองค์ ไม่ได้ตรัสไว้ คือ) ว่า "ภวังคจิต" (โดยให้ นิยามคำนี้ เช่น หมายความว่า จิตที่ยังไม่ออกมาที่อารมณ์ หรือ จิตที่ยังไม่รู้อารมณ์ _ เพราะ สำคัญว่า จิตคือธรรมชาติรู้ (รู้ถูกได้ รู้ผิดได้ ฯ) มา ___ อธิบายว่า "วิญญาณ อันเป็นอาการที่ ๓ นี้ มีก่อน ผัสสะ อันเป็นอาการที่ ๖ ?)
(๒) ทำไม ไม่ "โยนิโสมนสิการว่า" วิญญาณ อันเป็นอาการที่ ๓ ก่อน ผัสสะ นั้น
มันก็ คือ "วิญญาณ" ตามที่ตรัสว่า __ ความประจวบพร้อมแห่งธรรม ๓ คือ อายตนะในด้วย อายตนะนอกด้วย วิญญาณ ที่ทำหน้าที่รู้แจ้ง (consciousness) ที่ อายตนะใน นี้ด้วย นี้คือผัสสะ นั้นเอง
(๓) ไม่ เห็น ต้อง ไป เอา "ภวังคจิต" หรือ "ภวัง ได้แก่ จิต ๑๙ ประเภท" ตาม "วิญญาณกิจ ๑๔" ที่พระพุทธโฆษาจารย์ แต่งไว้ในวิสุทธิมัคค์ ที่ไม่ใช่ อธิบายพระไตรปิฎกตอนใดตอนหนึ่งโดยเฉพาะ มา เกี่ยวกับ "ปฏิจจสมุปบาท ของพระพุทธองค์" ที่ตรัสว่า "ศาสดาและสาวกย่อมกล่าวตรงกันในปฏิจจสมุปบาท" __ ไม่ขัดกับ กาลามสูตรด้วย __ มหาปเทสสี่ ด้วย ฯลฯ
(๔) ทำไม ไม่โยนิโสมนสิการว่า ว่า
วิญญาณ (๖) ที่ได้แก่ อาการที่ ๓ นั้น ___ มันก็ คือ วิญญาณ แห่งอาการที่ ๖ คือตรง ผัสสะ ที่ประกอบด้วยองค์ ๓ นั่นเอง
(๕) เมื่อ "หมายว่า" วิญญาณ เหมือนกัน แต่ ตรัส คนละ อาการ แปลว่า อะไร? "ต้อง โยนิโสมนสิการเอง" แบบ __ "ศาสดาและสาวกย่อมกล่าวตรงกันในปฏิจจสมุปบาท" __ ไม่ขัดกับ กาลามสูตรด้วย __ มหาปเทสสี่ ด้วย ฯลฯ
(๖) แต่ ถ้า "หมายต่างไป" จาก ๕ ___ ก็ อาสัย อิทธิบาท ๔ สอบทานว่า ทำไม ไม่หมาย ตาม ๕ เล่า?
หมายเหตุ
ปฏิจจสมุปบาท "ชั้นจากพระโอษฐ์" ไม่ว่า สำนวนแปลใด ที่ตรัสตรัสตั้งต้นที่ อาการ _อวิชชา _ สังขาร _ วิญญาณ _ นามรุป _ ฯ ___ ฯลฯ ___ กองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ (อาการที่ ๖ คือ ผัสสะแ้วย) ย่อมมี ด้วยอาการ อย่างนี้
(๑) สำนวนแปลใดนั้น __ มีคำว่า "จิต" ไหม?
(๒) ถ้าไม่มี คำว่า "จิต" คือ พระศาสดา ไม่ตรัสไว้?
(๓) แล้วสาวกคือ พระเถระครั้งปฐมสังคายนา ก็ ไม่ "เพิ่มไ เอง เช่นคำว่า "ภวังคจิต" คือ ฯลฯ
(๔) ถ้า สมัยนี้ มี ใคร แสดง ปฏิจจฯ แบบ "ที่โยนิโสมนสิการ" "เอง" แล้ว "เสนอว่า" วิญญาณ อันเป็นอาการที่ ๓ นั้น "ยังไม่ใช่ วิญญาณ ตรงผัสสะ"
ดังนั้น
การอธิบาย "วิญญาณ ตรงอาการนี้ คือ จิต หรือ ภวังคจิต (ไม่ว่าจะ ได้แก่ จิตอะไร ทำหน้าที่อะไร?) หรือ วิญญาณธาตุ ก็ตาม"
การอธิบาย อาการแห่งปฏิจจสมุปบาท อาการที่ ๓ ต่างไปจาก "พระเถระครั้งปฐมสังคายนา" รักษามา (คือ ไม่มีคำว่า จิต เข้ามาเกี่ยวข้อง)
(๑) เป็นพุทธศาสนา แบบไหน
___ พุทธศาสนา เถรวาท (ดั้งเดิม) ?
___ พุทธศาสนา อาจารวาท ?
___ พุทธสาสนา ????
^^^^^^^^
learn share fun
*********************
ประเด็นสนทนา ___ อาการที่ ๓ "วิญญาณ" ตามที่ทรงปริวิตก ก่อนตรัสรู้ นั้น วิญญาณ นี้ คือ ?"___
อาการที่ ๓ "วิญญาณ" ตามที่ทรงปริวิตก ก่อนตรัสรู้ นั้น วิญญาณ นี้ คือ ?
http://ppantip.com/topic/30021399/comment17-1
ความหมายของ โยนิโสมนสิการ
ผม แสดง คคหไว้ ดังนี้
ความคิดเห็นที่ 17-1
สังคีติกาจารย์ กล่าวไว้ว่า (มหา วิ ๔/๑/๑ _ โพธิสูตรที่ ๑ ๒ ๓ แห่ง โพธิวรรค อุ ขุ ๒๕/๗๓/๓๘ _
(ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ์ หน้า ๕ พุทธทาสภิกขุ)
ก็ ไม่ ควร จะ สังคีติ ขัดกับ พระสูตร นี้
(ว่าด้วย ปฏิจจสมุปบาท เกี่ยวกับ ความเป็นพระพุทธเจ้า _ ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ์ หน้า ๔๖๑ พุทธทาสภิกขุ)
พระสูตรที่ ๕ มหาวรรค อภิสมยสังยุตต์ นิทาน สํ ๑๖/๑๒๖/๒๕๐
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
ครั้งก่อนแต่การตรัสรู้ เมื่อเรายังไม่ได้ตรัสรู้ ยังเป้นโพธิสัตว์อยู่ ฯลฯ
โดยย่อ
ทรงปริวิตก ธรรม คือ ปฏิจจสมุปบาท แบบ ที่ ไม่ได้ ตรัส ตั้งต้นที่ อวิชชา สังขาร วิญญาณ ฯ
แต่ ตั้งต้นที่
(๑) "การออกจากทุกข์ _____ ทุกข์? ____ ทุกข์อริยสัจ (อุปาทานขันธ์) หรือ ทุกข์ไตรลักษณ์)
(๒) (ทุกข์) คือ __ ชรามรณะนี้ (ที่ เป็นธรรมดาของ สังขตธรรม เป็นทุกข์ไตรลักษณ์ / ยังไม่ตรัสรู้ ทุกข์อริยสัจ แต่ กำลัง จะตรัสรู้ ฯ)
(๓) จักปรากฎขึ้นได้อย่างไร?
พระสุตรนี้
ไม่ ทรงปริวิตก ด้วย คำว่า "ในการรับรู้อารมณ์ของจิตก็เป็นเช่นเดียวกันครับ" (ใช่หรือไม่?)
ดังนั้น
สาวกของพระบรมศาสดา ไม่ว่าสมัยไหน
เมื่อจะ "ตีความ" ด้วย การโยนิโสมนสิการ ซึ่ง สิ่งที่ตรัสคำว่า ___ วิญญาณ ___ ที่ได้แก่ อาการที่ ๓ (อวิชชา _ สังขาร _ วิญญาณ) ว่า
วิญญาณ นี้ คือ ? ___ ใช่ วิญญาณ ___ ตรง ที่ตรัสที่ อาการ ที่๖ คำว่า ___ "ผัสสะ" ความประจวบพร้อมแห่งธรรม ๓ คือ อายตนะในด้วย อายตนะนอกด้วย วิญญาณ ที่ทำหน้าที่รู้แจ้ง (consciousness) ที่ อายตนะใน นี้คือผัสสะ นั้น
(๑) ทำไม ต้อง ไป เอาคำ (ที่พระพุทะองค์ ไม่ได้ตรัสไว้ คือ) ว่า "ภวังคจิต" (โดยให้ นิยามคำนี้ เช่น หมายความว่า จิตที่ยังไม่ออกมาที่อารมณ์ หรือ จิตที่ยังไม่รู้อารมณ์ _ เพราะ สำคัญว่า จิตคือธรรมชาติรู้ (รู้ถูกได้ รู้ผิดได้ ฯ) มา ___ อธิบายว่า "วิญญาณ อันเป็นอาการที่ ๓ นี้ มีก่อน ผัสสะ อันเป็นอาการที่ ๖ ?)
(๒) ทำไม ไม่ "โยนิโสมนสิการว่า" วิญญาณ อันเป็นอาการที่ ๓ ก่อน ผัสสะ นั้น
มันก็ คือ "วิญญาณ" ตามที่ตรัสว่า __ ความประจวบพร้อมแห่งธรรม ๓ คือ อายตนะในด้วย อายตนะนอกด้วย วิญญาณ ที่ทำหน้าที่รู้แจ้ง (consciousness) ที่ อายตนะใน นี้ด้วย นี้คือผัสสะ นั้นเอง
(๓) ไม่ เห็น ต้อง ไป เอา "ภวังคจิต" หรือ "ภวัง ได้แก่ จิต ๑๙ ประเภท" ตาม "วิญญาณกิจ ๑๔" ที่พระพุทธโฆษาจารย์ แต่งไว้ในวิสุทธิมัคค์ ที่ไม่ใช่ อธิบายพระไตรปิฎกตอนใดตอนหนึ่งโดยเฉพาะ มา เกี่ยวกับ "ปฏิจจสมุปบาท ของพระพุทธองค์" ที่ตรัสว่า "ศาสดาและสาวกย่อมกล่าวตรงกันในปฏิจจสมุปบาท" __ ไม่ขัดกับ กาลามสูตรด้วย __ มหาปเทสสี่ ด้วย ฯลฯ
(๔) ทำไม ไม่โยนิโสมนสิการว่า ว่า
วิญญาณ (๖) ที่ได้แก่ อาการที่ ๓ นั้น ___ มันก็ คือ วิญญาณ แห่งอาการที่ ๖ คือตรง ผัสสะ ที่ประกอบด้วยองค์ ๓ นั่นเอง
(๕) เมื่อ "หมายว่า" วิญญาณ เหมือนกัน แต่ ตรัส คนละ อาการ แปลว่า อะไร? "ต้อง โยนิโสมนสิการเอง" แบบ __ "ศาสดาและสาวกย่อมกล่าวตรงกันในปฏิจจสมุปบาท" __ ไม่ขัดกับ กาลามสูตรด้วย __ มหาปเทสสี่ ด้วย ฯลฯ
(๖) แต่ ถ้า "หมายต่างไป" จาก ๕ ___ ก็ อาสัย อิทธิบาท ๔ สอบทานว่า ทำไม ไม่หมาย ตาม ๕ เล่า?
หมายเหตุ
ปฏิจจสมุปบาท "ชั้นจากพระโอษฐ์" ไม่ว่า สำนวนแปลใด ที่ตรัสตรัสตั้งต้นที่ อาการ _อวิชชา _ สังขาร _ วิญญาณ _ นามรุป _ ฯ ___ ฯลฯ ___ กองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ (อาการที่ ๖ คือ ผัสสะแ้วย) ย่อมมี ด้วยอาการ อย่างนี้
(๑) สำนวนแปลใดนั้น __ มีคำว่า "จิต" ไหม?
(๒) ถ้าไม่มี คำว่า "จิต" คือ พระศาสดา ไม่ตรัสไว้?
(๓) แล้วสาวกคือ พระเถระครั้งปฐมสังคายนา ก็ ไม่ "เพิ่มไ เอง เช่นคำว่า "ภวังคจิต" คือ ฯลฯ
(๔) ถ้า สมัยนี้ มี ใคร แสดง ปฏิจจฯ แบบ "ที่โยนิโสมนสิการ" "เอง" แล้ว "เสนอว่า" วิญญาณ อันเป็นอาการที่ ๓ นั้น "ยังไม่ใช่ วิญญาณ ตรงผัสสะ"
ดังนั้น
การอธิบาย "วิญญาณ ตรงอาการนี้ คือ จิต หรือ ภวังคจิต (ไม่ว่าจะ ได้แก่ จิตอะไร ทำหน้าที่อะไร?) หรือ วิญญาณธาตุ ก็ตาม"
การอธิบาย อาการแห่งปฏิจจสมุปบาท อาการที่ ๓ ต่างไปจาก "พระเถระครั้งปฐมสังคายนา" รักษามา (คือ ไม่มีคำว่า จิต เข้ามาเกี่ยวข้อง)
(๑) เป็นพุทธศาสนา แบบไหน
___ พุทธศาสนา เถรวาท (ดั้งเดิม) ?
___ พุทธศาสนา อาจารวาท ?
___ พุทธสาสนา ????
^^^^^^^^
learn share fun
*********************
ประเด็นสนทนา ___ อาการที่ ๓ "วิญญาณ" ตามที่ทรงปริวิตก ก่อนตรัสรู้ นั้น วิญญาณ นี้ คือ ?"___