หน้าแรก
คอมมูนิตี้
ห้อง
แท็ก
คลับ
ห้อง
แก้ไขปักหมุด
ดูทั้งหมด
เกิดข้อผิดพลาดบางอย่าง
ลองใหม่
แท็ก
แก้ไขปักหมุด
ดูเพิ่มเติม
เกิดข้อผิดพลาดบางอย่าง
ลองใหม่
{room_name}
{name}
{description}
กิจกรรม
แลกพอยต์
อื่นๆ
ตั้งกระทู้
เข้าสู่ระบบ / สมัครสมาชิก
เว็บไซต์ในเครือ
Bloggang
Pantown
PantipMarket
Maggang
ติดตามพันทิป
ดาวน์โหลดได้แล้ววันนี้
เกี่ยวกับเรา
กฎ กติกา และมารยาท
คำแนะนำการโพสต์แสดงความเห็น
นโยบายเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคล
สิทธิ์การใช้งานของสมาชิก
ติดต่อทีมงาน Pantip
ติดต่อลงโฆษณา
ร่วมงานกับ Pantip
Download App Pantip
Pantip Certified Developer
ผม ขอเข้าใจเองทุกข์ทั้งหลายในพระไตรปิฎกเหลือแค่นิวร5
กระทู้คำถาม
ศาสนาพุทธ
"ทุกข์...ทั้งหลาย
เมื่อย่อลงมามีอยู่ แค่นิวรณ์ ๕ อย่าง
(นิวรณ์ ๕ กามตัณหา พยาบาท หดหู่เซื่องซึม
ฟุ้งซ่านรำคาญ ลังเลสงสัย)
ย่อ ลงมาอีก...
มีแต่สุข กับทุกข์
(ความสงบ กับความไม่สงบ)
ย่อ ลงมาอีก...
มีแต่เกิด กับดับ
(สุข ก็เกิดเพื่อดับ ทุกข์ ก็เกิดเพื่อดับ)
____________________________________________
หลวงพ่อเลี่ยม ฐิตธัมโม วัดหนองป่าพง.
แก้ไขข้อความเมื่อ
▼
กำลังโหลดข้อมูล...
▼
แสดงความคิดเห็น
กระทู้ที่คุณอาจสนใจ
กามในสังโยชน์๕ไม่ใช่กามตัณหา..
กามในสังโยชน์เบื้องต่ำ๕ที่พระอนาคามีละได้แล้วมันคือกามวิตกมิใช่กามตัณหาอย่างที่ปุถุชนส่วนใหญ่เข้าใจกัน!!? ในโพสต์ที่แล้วอาตมาได้กล่าวถึงผู้ละกามตัณหาได้แล้วอย่างอุจาดตาในแบบฉบับของชีเปลือยในศาสนาเชน..
คนกรุงธน
ธรรมะของหลวงปู่บุดดา ถาวโร
" จิต ของผู้ฝึกดีแล้ว จะรายงานบอกตัวเองเสร็จสรรพ ว่า สิ่งไหนควรรู้ สิ่งไหนไม่ควรรู้ อาการ...เก็บสิ่งสัมผัสส่งเดช ไม่มี...ในจิต ของท่านผู้รู้
สมาชิกหมายเลข 8581198
อมตนิพพาน คือ ความสงบ ระงับ ดับ ซึ่งสังขารทั้งปวง
คำว่า.. สงบ ระงับ ดับ คือ ทำให้ไม่มี ให้หายไปนิพพานเข้าไปแทนที่อย่างนั้นๆ เช่น ถ้าสังขารไม่เที่ยง นิพพานต้องเที่ยง สังขารเป็นทุกข์ นิพพานต้องเป็นสุข สังขารเป็นความเสื่อ
สมาชิกหมายเลข 8486991
กุศลกรรมบถ 10 คือธรรมที่ควรค่าแก่การปฏิบัติอย่างยิ่งยวดของผู้ปฏิบัติธรรม
สวัสดีครับ วันนี้ผมอยากมาแบ่งปันพร้อมทั้งปรึกษาทั้งผู้ที่ปริยัติและปฏิบัติทุกท่าน ตัวผมได้ศึกษาและปฏิบัติตามแนวทางพุทธศาสนามาประมาณ 2 ปีกว่าๆแล้ว รู้สึกว่าการทำสมาธิไม่ค่อยก้าวหน้านัก ผมเลยลองศึกษาอย่
สมาชิกหมายเลข 8542366
อวิชชามันฉลาดหลอกให้จิตหลงยึดขันธ์ 5
อวิชชามันฉลาดหลอกให้จิตหลงยึดขันธ์ 5 คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เป็นตัวเราของเรา คนทั่วไป 90% ที่ไม่ได้ศึกษาหลงยึดว่า รูป (กาย) เป็นตัวเรา เป็นจิต นักท่องตำราที่ขาดการปฏิบัติหลงยึดวิญญาณเป็นตัว
สมาชิกหมายเลข 2748147
เข้าใจพระพุทธศาสนาภายใน 10 นาที
1.พระพุทธเจ้าตรัสรู้อะไร ? อริยสัจ 4 คือ ทุกข์ คือความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ สมุทัย คือเหตุที่ทำให้เกิดทุกข์ นิโรธ คือความดับทุกข์ มรรค คือข้อปฏิบัติเพื่อความดับทุกข์ 2. พระพุทธเจ้าทรงสอน เรื่องอ
Honeymile
เรียนถามสมาชิก... ท่านคิดว่า นิวรณ์ ใดร้ายกาจที่สุดครับ ?
นิวรณ์ 5 (สิ่งที่กั้นจิตไม่ให้ก้าวหน้าในคุณธรรม, ธรรมที่กั้นจิตไม่ให้บรรลุคุณความดี, อกุศลธรรมที่ทำจิตให้เศร้าหมองและทำปัญญาให้อ่อนกำลัง — hindrances.) 1. กามฉันทะ (ความพอใจในกาม, ความต้องการกา
เป็นเล่นไป
หนังสือ คู่มือปฎิบัติวัดท่าซุง เล่ม 1 อานาปานุสสติกรรมฐาน ตอนที่ 15.2
ต่อจาก หนังสือ คู่มือปฎิบัติวัดท่าซุง เล่ม 1 อานาปานุสสติกรรมฐาน ตอนที่ 15.1 https://ppantip.com/topic/43154349 อานาปานุสสติกรรมฐาน ตอนที่ 15.2 แต่สำหรับอารมณ์ของพระสกิทาคามี ยังมีอารม
สมาชิกหมายเลข 8483559
ศัตรูของสมาธิ
การที่จะรู้จักสมาธิได้ถูกต้อง เราจะต้องรู้จักกับสิ่งที่ตรงข้ามหรือศัตรูของสมาธิเสียก่อนเพราะเป็นสิ่งตรงข้ามกัน คือเมื่อจิตมีสมาธิ ศัตรูของสมาธิก็จะไม่มี แต่เมื่อที่จิตมีศัตรูของสมาธิครอบงำ จิตก็จะไม่ม
เตชปัญโญ ภิกขุ
...ธรรมะจากพระผู้รู้... โดย พระ ปราโมทย์ ปา โมชฺโช ค่ะ จาก หนังสือธรรมะใกล้ตัว ฉบับที่ 158 ค่ะ
ธรรมะจากพระผู้รู้ โดย พระ ปราโมทย์ ปา โมชฺโช ค่ะ จาก หนังสือธรรมะใกล้ตัว ฉบับที่ 158 ค่ะ การรักษาศีลจะรักษาง่ายถ้าเรารักษาที่จิต ถ้าเรามีสติรักษาจิต การรักษาศีลจะทำได้ง่าย จิตจะไม่ถูกกิเลสลากไป เร
you4lucky
อ่านกระทู้อื่นที่พูดคุยเกี่ยวกับ
ศาสนาพุทธ
บนสุด
ล่างสุด
อ่านเฉพาะข้อความเจ้าของกระทู้
หน้า:
หน้า
จาก
แชร์ :
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน
อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่
ยอมรับ
ผม ขอเข้าใจเองทุกข์ทั้งหลายในพระไตรปิฎกเหลือแค่นิวร5
เมื่อย่อลงมามีอยู่ แค่นิวรณ์ ๕ อย่าง
(นิวรณ์ ๕ กามตัณหา พยาบาท หดหู่เซื่องซึม
ฟุ้งซ่านรำคาญ ลังเลสงสัย)
ย่อ ลงมาอีก...
มีแต่สุข กับทุกข์
(ความสงบ กับความไม่สงบ)
ย่อ ลงมาอีก...
มีแต่เกิด กับดับ
(สุข ก็เกิดเพื่อดับ ทุกข์ ก็เกิดเพื่อดับ)
____________________________________________
หลวงพ่อเลี่ยม ฐิตธัมโม วัดหนองป่าพง.