1. การใช้ภาษา
จากใน Youtube คลิปคุณโรม เข้าใจว่า พรรคตั้งคำถามเรื่องงบประมาณในส่วน
สถาบันพระมหากษัตริย์ ซึ่งตรวจสอบไม่ได้
และจำนวนงบประมาณในส่วนนี้ค่อนข้างสูงมาก ถ้าเทียบกับประเทศอื่น
ต้องพิจารณาให้ดี ปัญหาอาจอยู่ที่
ข้าราชการบางกลุ่มที่แอบอิงผลประโยชน์
รวมถึงควรพิจารณาขอบเขตงานของสถาบันฯ
ถ้าเทียบกับสถาบันฯ ของประเทศอื่นด้วย
2. มองภาพใหญ่ไม่เป็น
เรื่องใหญ่ใจความของประชาชนคืออะไร
น่าจะต้องจัดลำดับก่อนหลัง กางแผนที่ความสำคัญ
ประชาชนเลือกพรรคก้าวไกลเพราะอยากให้พิธาเป็นนายก
อยากให้ทีมงานคนรุ่นใหม่เป็นรัฐบาล
แต่พรรคก้าวไกลกลับไม่เลือกอำนาจรัฐ ตามเจตนารมณ์ประชาชน
กลับเหมารวมว่า ประชาชนอยากให้แก้ ม 112 แล้วปล่อยอำนาจรัฐไปเป็นของพรรคอื่น
จริงอยู่ มีประชาชนส่วนหนึ่งที่เลือกนโยบาย
แต่ก็มีอีกมาก ที่มองเลือกตั้ง = เลือกผู้นำ เลือกบุคคล
นโยบายเหล่านี้ ไม่ว่า เงินบล็อคเชน หรือ นโยบายย่อยอื่นๆ
ที่สุ่มเสี่ยง ควรจะทำประชาพิจารณ์อีกครั้ง เพื่อวัดความแน่นอน
ว่าเป็นเจตนารมณ์ของประชาชนหรือไม่
ไม่ควรด่วนสรุปว่าที่ประชาชนเลือกมาให้แก้ ม 112
เปล่า... ประชาชนเขาเลือกเพราะอยากให้เป็นรัฐบาล
และประชาชนไม่ด่าหรอก หากทำไม่สำเร็จครบทุกนโยบาย
นโยบาย 10 ข้อ ทำได้ 5 ข้อก็ผ่านแล้ว
3. ยังไม่มีผลงานการตีแผ่เป็นเรื่องเป็นราว ที่สะเทือนแผ่นดินได้
เหมือนยังกั๊ก เพื่อหาพวก ไม่กล้าฟาดฟันทางคารม
คล้ายต้องการความร่วมมือจากพรรคอื่นในการแก้รัฐธรรมนูญ
หรือ คาดหวังชวนจัดตั้งรัฐบาล
ลองทำตัวเองให้เป็นพรรคพระเอกให้ได้ก่อน
แล้วเสียงประชาชนจะมาเอง
ตอนนี้ นักการเมืองมุ่งแก้ปัญหาของนักการเมือง
โดยแทบไม่มีเรื่องของประชาชนอยู่ในสมการ
การอภิปรายควรจะเจาะประเด็น และค้านได้อย่างหนักแน่น ไม่คลุมเครือ
เช่น การคอรัปชั่น ข้าราชการที่บริการประชาชนอย่างไร้ประสิทธิภาพ
ความยากไร้ของพี่น้องในต่างจังหวัด
การเตรียมประเทศสู่ยุคเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์
ที่คนรุ่นใหม่นิยมงานอิสระ ไม่สังกัดองค์กรใหญ้
ปัญหาว่างงาน ปัญหาวัยรุ่น
ฯลฯ
-ไม่อภิปรายด้วยอารมณ์ แต่มีความหลักแหลมเชิงข้อมูล
-หันมาสนใจเป้าหมายเชิงรูปธรรม มากกว่าหลักการเชิงนามธรรม
-ยังไม่มีดาวสภาที่สามารถพูดแทนใจประชาชน ถึงปัญหาที่ต้องเผชิญ
พรรคประชาชน อาจไม่ชนะเลือกตั้งครั้งหน้า เพราะ...
จากใน Youtube คลิปคุณโรม เข้าใจว่า พรรคตั้งคำถามเรื่องงบประมาณในส่วน
สถาบันพระมหากษัตริย์ ซึ่งตรวจสอบไม่ได้
และจำนวนงบประมาณในส่วนนี้ค่อนข้างสูงมาก ถ้าเทียบกับประเทศอื่น
ต้องพิจารณาให้ดี ปัญหาอาจอยู่ที่
ข้าราชการบางกลุ่มที่แอบอิงผลประโยชน์
รวมถึงควรพิจารณาขอบเขตงานของสถาบันฯ
ถ้าเทียบกับสถาบันฯ ของประเทศอื่นด้วย
2. มองภาพใหญ่ไม่เป็น
เรื่องใหญ่ใจความของประชาชนคืออะไร
น่าจะต้องจัดลำดับก่อนหลัง กางแผนที่ความสำคัญ
ประชาชนเลือกพรรคก้าวไกลเพราะอยากให้พิธาเป็นนายก
อยากให้ทีมงานคนรุ่นใหม่เป็นรัฐบาล
แต่พรรคก้าวไกลกลับไม่เลือกอำนาจรัฐ ตามเจตนารมณ์ประชาชน
กลับเหมารวมว่า ประชาชนอยากให้แก้ ม 112 แล้วปล่อยอำนาจรัฐไปเป็นของพรรคอื่น
จริงอยู่ มีประชาชนส่วนหนึ่งที่เลือกนโยบาย
แต่ก็มีอีกมาก ที่มองเลือกตั้ง = เลือกผู้นำ เลือกบุคคล
นโยบายเหล่านี้ ไม่ว่า เงินบล็อคเชน หรือ นโยบายย่อยอื่นๆ
ที่สุ่มเสี่ยง ควรจะทำประชาพิจารณ์อีกครั้ง เพื่อวัดความแน่นอน
ว่าเป็นเจตนารมณ์ของประชาชนหรือไม่
ไม่ควรด่วนสรุปว่าที่ประชาชนเลือกมาให้แก้ ม 112
เปล่า... ประชาชนเขาเลือกเพราะอยากให้เป็นรัฐบาล
และประชาชนไม่ด่าหรอก หากทำไม่สำเร็จครบทุกนโยบาย
นโยบาย 10 ข้อ ทำได้ 5 ข้อก็ผ่านแล้ว
3. ยังไม่มีผลงานการตีแผ่เป็นเรื่องเป็นราว ที่สะเทือนแผ่นดินได้
เหมือนยังกั๊ก เพื่อหาพวก ไม่กล้าฟาดฟันทางคารม
คล้ายต้องการความร่วมมือจากพรรคอื่นในการแก้รัฐธรรมนูญ
หรือ คาดหวังชวนจัดตั้งรัฐบาล
ลองทำตัวเองให้เป็นพรรคพระเอกให้ได้ก่อน
แล้วเสียงประชาชนจะมาเอง
ตอนนี้ นักการเมืองมุ่งแก้ปัญหาของนักการเมือง
โดยแทบไม่มีเรื่องของประชาชนอยู่ในสมการ
การอภิปรายควรจะเจาะประเด็น และค้านได้อย่างหนักแน่น ไม่คลุมเครือ
เช่น การคอรัปชั่น ข้าราชการที่บริการประชาชนอย่างไร้ประสิทธิภาพ
ความยากไร้ของพี่น้องในต่างจังหวัด
การเตรียมประเทศสู่ยุคเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์
ที่คนรุ่นใหม่นิยมงานอิสระ ไม่สังกัดองค์กรใหญ้
ปัญหาว่างงาน ปัญหาวัยรุ่น
ฯลฯ
-ไม่อภิปรายด้วยอารมณ์ แต่มีความหลักแหลมเชิงข้อมูล
-หันมาสนใจเป้าหมายเชิงรูปธรรม มากกว่าหลักการเชิงนามธรรม
-ยังไม่มีดาวสภาที่สามารถพูดแทนใจประชาชน ถึงปัญหาที่ต้องเผชิญ