สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 8
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๔ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๖
อังคุตตรนิกาย ทสก-เอกาทสกนิบาต
สังโยชนสูตร
[๑๓] ดูกรภิกษุทั้งหลาย สังโยชน์ ๑๐ ประการนี้ ๑๐ ประการเป็นไฉน
คือ สังโยชน์เป็นไปในส่วนเบื้องต่ำ ๕ ประการ สังโยชน์เป็นไปในส่วนเบื้องบน
๕ ประการ สังโยชน์เป็นไปในส่วนเบื้องต่ำ ๕ ประการเป็นไฉน คือ สักกายทิฐิ ๑
วิจิกิจฉา ๑ สีลพัตตปรามาส ๑ กามฉันทะ ๑ พยาบาท ๑ สังโยชน์เป็นไปใน
ส่วนเบื้องต่ำ ๕ ประการนี้ สังโยชน์เป็นไปในส่วนเบื้องบน ๕ ประการเป็นไฉน
คือ รูปราคะ ๑ อรูปราคะ ๑ มานะ ๑ อุทธัจจะ ๑ อวิชชา ๑ สังโยชน์เป็น
ไปในส่วนเบื้องบน ๕ ประการนี้ ดูกรภิกษุทั้งหลาย สังโยชน์ ๑๐ ประการ
นี้แล ฯ
จบสูตรที่ ๓
เนื้อความพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๔ บรรทัดที่ ๔๑๘-๔๒๗ หน้าที่ ๑๙.
https://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=24&A=418&Z=427&pagebreak=0
https://84000.org/tipitaka/read/byitem.php?book=24&item=13&items=1
อ่านโดยใช้เครื่องหมาย [เลขข้อ] เป็น เกณฑ์แบ่งข้อ :-
https://84000.org/tipitaka/read/byitem.php?book=24&item=13&items=1&mode=bracket
อ่านเทียบพระไตรปิฎกภาษาบาลีอักษรไทย :-
https://84000.org/tipitaka/pali/pali_item.php?book=24&item=13&items=1
อ่านเทียบพระไตรปิฎกภาษาบาลีอักษรโรมัน :-
https://84000.org/tipitaka/read/roman_item.php?book=24&item=13&items=1
ศึกษาอรรถกถานี้ที่ :-
https://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=24&i=13
++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๕ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๒ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
วิภังคปกรณ์
๑๐. ทสกนิทเทส
[๙๖๙] สังโยชน์ ๑๐ เป็นไฉน
สังโยชน์ ๑๐ คือ
๑. กามราคสังโยชน์ (กิเลสเครื่องประกอบสัตว์ไว้ในภพคือกามราคะ)
๒. ปฏิฆสังโยชน์ (กิเลสเครื่องประกอบสัตว์ไว้ในภพคือปฏิฆะ)
๓. มานสังโยชน์ (กิเลสเครื่องประกอบสัตว์ไว้ในภพคือมานะ)
๔. ทิฏฐิสังโยชน์ (กิเลสเครื่องประกอบสัตว์ไว้ในภพคือทิฏฐิ)
๕. วิจิกิจฉาสังโยชน์ (กิเลสเครื่องประกอบสัตว์ไว้ในภพคือวิจิกิจฉา)
๖. สีลัพพตปรามาสสังโยชน์ (กิเลสเครื่องประกอบสัตว์ไว้ในภพคือสีลัพ-
พตปรามาส)
๗. ภวราคสังโยชน์ (กิเลสเครื่องประกอบสัตว์ไว้ในภพคือภวราคะ)
๘. อิสสาสังโยชน์ (กิเลสเครื่องประกอบสัตว์ไว้ในภพคืออิสสา)
๙. มัจฉริยสังโยชน์ (กิเลสเครื่องประกอบสัตว์ไว้ในภพคือมัจฉริยะ
๑๐. อวิชชาสังโยชน์ (กิเลสเครื่องประกอบสัตว์ไว้ในภพคืออวิชชา)
เหล่านี้ชื่อว่าสังโยชน์ ๑๐
เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๓๕ หน้าที่ ๖๑๘-๖๒๒.
http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=35&siri=75
ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [คลิกเพื่อฟัง]
อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :-
http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=35&A=13507&Z=13599
ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :-
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=35&i=1026
++++++++++++++++++++++++++++++++++++
การศึกษาวิเคราะห์สังโยชน์ในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรวาท
https://e-thesis.mcu.ac.th/storage/NGBZlGCafxFcEhvUXGKGHdSfsRSvopHAEDM1CcdA.pdf
THE ANALYTICAL STUDY OF SANYOJANA (FETTERS) IN
THERAVADA BUDDHIST SCRIPTURES
นายสานุ มหัทธนาดุลย์
+++++++++++++++++++++++++++++
ขออนุโมทนาสาธุ กับวิทยานิพนธ์นี้ด้วยครับ
เลือกเอาว่าจะเอาแบบไหน ตัวใครตัวมัน
เหนื่อยหน่อยนะชาวพุทธ
ขอบคุณหมารน้อย ที่ทำให้ได้อ่านหลักธรรมดี ๆ
อนึ่ง สังโยชน์ เป็นธรรมที่ควรละ น่ะ อย่าไปเอามาผูกตัวเอง ให้จมดิ่งในวัฏฏะสงสาร
สังโยชน์แบบไหน ถ้าละได้ ก็เป็น พระอริยบุคคลได้ น่ะ คุณหมารน้อย
อังคุตตรนิกาย ทสก-เอกาทสกนิบาต
สังโยชนสูตร
[๑๓] ดูกรภิกษุทั้งหลาย สังโยชน์ ๑๐ ประการนี้ ๑๐ ประการเป็นไฉน
คือ สังโยชน์เป็นไปในส่วนเบื้องต่ำ ๕ ประการ สังโยชน์เป็นไปในส่วนเบื้องบน
๕ ประการ สังโยชน์เป็นไปในส่วนเบื้องต่ำ ๕ ประการเป็นไฉน คือ สักกายทิฐิ ๑
วิจิกิจฉา ๑ สีลพัตตปรามาส ๑ กามฉันทะ ๑ พยาบาท ๑ สังโยชน์เป็นไปใน
ส่วนเบื้องต่ำ ๕ ประการนี้ สังโยชน์เป็นไปในส่วนเบื้องบน ๕ ประการเป็นไฉน
คือ รูปราคะ ๑ อรูปราคะ ๑ มานะ ๑ อุทธัจจะ ๑ อวิชชา ๑ สังโยชน์เป็น
ไปในส่วนเบื้องบน ๕ ประการนี้ ดูกรภิกษุทั้งหลาย สังโยชน์ ๑๐ ประการ
นี้แล ฯ
จบสูตรที่ ๓
เนื้อความพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๔ บรรทัดที่ ๔๑๘-๔๒๗ หน้าที่ ๑๙.
https://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=24&A=418&Z=427&pagebreak=0
https://84000.org/tipitaka/read/byitem.php?book=24&item=13&items=1
อ่านโดยใช้เครื่องหมาย [เลขข้อ] เป็น เกณฑ์แบ่งข้อ :-
https://84000.org/tipitaka/read/byitem.php?book=24&item=13&items=1&mode=bracket
อ่านเทียบพระไตรปิฎกภาษาบาลีอักษรไทย :-
https://84000.org/tipitaka/pali/pali_item.php?book=24&item=13&items=1
อ่านเทียบพระไตรปิฎกภาษาบาลีอักษรโรมัน :-
https://84000.org/tipitaka/read/roman_item.php?book=24&item=13&items=1
ศึกษาอรรถกถานี้ที่ :-
https://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=24&i=13
++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๕ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๒ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
วิภังคปกรณ์
๑๐. ทสกนิทเทส
[๙๖๙] สังโยชน์ ๑๐ เป็นไฉน
สังโยชน์ ๑๐ คือ
๑. กามราคสังโยชน์ (กิเลสเครื่องประกอบสัตว์ไว้ในภพคือกามราคะ)
๒. ปฏิฆสังโยชน์ (กิเลสเครื่องประกอบสัตว์ไว้ในภพคือปฏิฆะ)
๓. มานสังโยชน์ (กิเลสเครื่องประกอบสัตว์ไว้ในภพคือมานะ)
๔. ทิฏฐิสังโยชน์ (กิเลสเครื่องประกอบสัตว์ไว้ในภพคือทิฏฐิ)
๕. วิจิกิจฉาสังโยชน์ (กิเลสเครื่องประกอบสัตว์ไว้ในภพคือวิจิกิจฉา)
๖. สีลัพพตปรามาสสังโยชน์ (กิเลสเครื่องประกอบสัตว์ไว้ในภพคือสีลัพ-
พตปรามาส)
๗. ภวราคสังโยชน์ (กิเลสเครื่องประกอบสัตว์ไว้ในภพคือภวราคะ)
๘. อิสสาสังโยชน์ (กิเลสเครื่องประกอบสัตว์ไว้ในภพคืออิสสา)
๙. มัจฉริยสังโยชน์ (กิเลสเครื่องประกอบสัตว์ไว้ในภพคือมัจฉริยะ
๑๐. อวิชชาสังโยชน์ (กิเลสเครื่องประกอบสัตว์ไว้ในภพคืออวิชชา)
เหล่านี้ชื่อว่าสังโยชน์ ๑๐
เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๓๕ หน้าที่ ๖๑๘-๖๒๒.
http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=35&siri=75
ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [คลิกเพื่อฟัง]
อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :-
http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=35&A=13507&Z=13599
ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :-
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=35&i=1026
++++++++++++++++++++++++++++++++++++
การศึกษาวิเคราะห์สังโยชน์ในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรวาท
https://e-thesis.mcu.ac.th/storage/NGBZlGCafxFcEhvUXGKGHdSfsRSvopHAEDM1CcdA.pdf
THE ANALYTICAL STUDY OF SANYOJANA (FETTERS) IN
THERAVADA BUDDHIST SCRIPTURES
นายสานุ มหัทธนาดุลย์
+++++++++++++++++++++++++++++
ขออนุโมทนาสาธุ กับวิทยานิพนธ์นี้ด้วยครับ
เลือกเอาว่าจะเอาแบบไหน ตัวใครตัวมัน
เหนื่อยหน่อยนะชาวพุทธ
ขอบคุณหมารน้อย ที่ทำให้ได้อ่านหลักธรรมดี ๆ
อนึ่ง สังโยชน์ เป็นธรรมที่ควรละ น่ะ อย่าไปเอามาผูกตัวเอง ให้จมดิ่งในวัฏฏะสงสาร
สังโยชน์แบบไหน ถ้าละได้ ก็เป็น พระอริยบุคคลได้ น่ะ คุณหมารน้อย
ความคิดเห็นที่ 18
ค้นในพระสูตรแล้ว มีการใช้ทั้งสองอย่าง พยายามหาความแตกต่างแล้ว เบื้องต้นเห็นว่าอยู่ที่การจำแนก
จำแนกโดยลำดับมรรค
สังโยชน์เบื้องต่ำ ๕
- สักกายทิฏฐิ (โสดา)
- วิจิกิจฉา (โสดา)
- สีลัพพตปรามาส (โสดา)
- กามฉันทะ (สกทาคามี/อนาคามี)
- พยาบาท (สกทาคามี/อนาคามี)
สังโยชน์เบื้องสูง ๕
- รูปราคะ (อรหันต์)
- อรูปราคะ (อรหันต์)
- มานะ (อรหันต์)
- อุทธัทจะ (อรหันต์)
- อวิชชา (อรหันต์)
จำแนกโดยอายตนะ (รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส ธรรมารมณ์)
- กามราคะ (สกทาคามี/อนาคามี)
- ปฏิฆะ (สกทาคามี/อนาคามี)
- มานะ (อรหันต์)
- ทิฏฐิ (โสดา)
- วิจิกิจฉา (โสดา)
- สีลัพพตปรามาส (โสดา)
- ภวราคะ (อรหันต์)
- อิสสา (โสดา)
- มัจฉริยะ (โสดา)
- อวิชชา (อรหันต์)
มีสังโยชน์ ๗ ด้วย
๑๐. มัจฉริยสูตร
[๑๐] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สังโยชน์ ๗ ประการนี้ ๗ ประการ เป็นไฉน คือ สังโยชน์คือ ความยินดี ๑ ความยินร้าย ๑ ความเห็นผิด ๑ ความสงสัย ๑ มานะ ๑ ความริษยา ๑ ความตระหนี่ ๑ ก่อน ภิกษุทั้งหลาย สังโยชน์ ๗ ประการนี้แล.
จบสูตรที่ ๑๐
จำแนกโดยลำดับมรรค
สังโยชน์เบื้องต่ำ ๕
- สักกายทิฏฐิ (โสดา)
- วิจิกิจฉา (โสดา)
- สีลัพพตปรามาส (โสดา)
- กามฉันทะ (สกทาคามี/อนาคามี)
- พยาบาท (สกทาคามี/อนาคามี)
สังโยชน์เบื้องสูง ๕
- รูปราคะ (อรหันต์)
- อรูปราคะ (อรหันต์)
- มานะ (อรหันต์)
- อุทธัทจะ (อรหันต์)
- อวิชชา (อรหันต์)
จำแนกโดยอายตนะ (รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส ธรรมารมณ์)
- กามราคะ (สกทาคามี/อนาคามี)
- ปฏิฆะ (สกทาคามี/อนาคามี)
- มานะ (อรหันต์)
- ทิฏฐิ (โสดา)
- วิจิกิจฉา (โสดา)
- สีลัพพตปรามาส (โสดา)
- ภวราคะ (อรหันต์)
- อิสสา (โสดา)
- มัจฉริยะ (โสดา)
- อวิชชา (อรหันต์)
มีสังโยชน์ ๗ ด้วย
๑๐. มัจฉริยสูตร
[๑๐] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สังโยชน์ ๗ ประการนี้ ๗ ประการ เป็นไฉน คือ สังโยชน์คือ ความยินดี ๑ ความยินร้าย ๑ ความเห็นผิด ๑ ความสงสัย ๑ มานะ ๑ ความริษยา ๑ ความตระหนี่ ๑ ก่อน ภิกษุทั้งหลาย สังโยชน์ ๗ ประการนี้แล.
จบสูตรที่ ๑๐
แสดงความคิดเห็น
สังโยชน์ในพระสูตรของพระพุทธเจ้าแตกต่างจากในคัมภีร์อภิธรรมจากศรีลังกา
1 สักกายทิฏฐิ
2 วิจิกิจฉา
3 สีลัพพตปรามาส
4 กามราคะ
5 ปฏิฆะ
6 รูป
7 อรูป
8 มานะ
9 อุทธัจจะ
10 อวิชชา
สังโยชน์ในคัมภีร์อภิธรรมของศรีลังกา
1. กามราคะ
2. ปฏิฆะ
3. มานะ
4. ทิฏฐิ (ความเห็นผิด — false views)
5. วิจิกิจฉา
6. สีลัพพตปรามาส
7. ภวราคะ (ความติดใจปรารถนาในภพ — greed for existence)
8. อิสสา (ความริษยา — envy; jealousy)
9. มัจฉริยะ (ความตระหนี่ — meanness; stinginess)
10. อวิชชา
เลือกเอาว่าจะเอาแบบไหน ตัวใครตัวมัน
เหนื่อยหน่อยนะชาวพุทธ