ปรัชญาแนวคิดรัฐบาลประชาธิปไตยคอมมิวนิสม์ (Democracy communism)
แนวคิด
"ประชาชนต้องมีอำนาจ มีส่วนร่วมในการตัดสินใจไม่ใช่แค่เลือกผู้นำหรือตัวแทนแต่มีส่วนร่วมในการออกนโยบายและแสดงความคิดเห็นมีสิทธิ์โหวตสนับสนุนนโยบายต่างๆ เพื่อให้เกิดการจัดสรรทรัพยากรและงบประมาณไปดำเนินการตามนโยบายที่ได้รับการพิจารณา ตามมติมวลชน"
เป็นวิวัฒนาการทางสังคมสูงสุดของมนุษย์ อำนาจรัฐเป็นประชาธิปไตยอยู่ภายใต้ประชาชนจากกลไกGoverment Stock Options ที่องค์กร หน่วยงานรัฐจะอยู่ในรูปบริษัทCo-Opที่คล้ายรูปแบบ บริษัทในตลาดหุ้น มีการเปิดเผยงบ มีความโปร่งใส ตรวจสอบได้ อยู่ภายใต้กฎหมายป้องกันการผูกขาดจำนวนองค์กรรัฐให้มีมากกว่าหนึ่งองค์กรที่ทำหน้าที่เดียวกัน เพื่อให้ปชช.ได้เลือกจ่ายภาษีสนับสนุนให้องค์กรรัฐจากรายได้ตามที่กฎหมายกำหนด
เพื่อให้อำนาจปชช. ถ่วงดุลอำนาจองค์กร หน่วยงานรัฐ กระตุ้นให้สร้างผลงานที่ดีๆ เพื่อที่ปชช.จะเห็นด้วยและเลือกให้การสนับสนุนงบประมาณ มากกว่า องค์กรที่ทำได้ไม่ดี(ใช้กลไกการแข่งขันมากระตุ้นภาครัฐ) โดยที่องค์กรรัฐ มีการแข่งขันจัดตั้งองค์กรได้อย่างเสรี ไม่ผูกขาดองค์กรเดียว ให้อำนาจหน้าที่โดยมีการทำงานร่วมกันโดยยึดประโยชน์ปชช.เป็นหลัก คล้ายระบบบริษัทที่เป็นCo-Op เพียงแต่นำมาประยุกต์ใช้กับการบริหาร องค์กร หน่วยงานราชการแทน
สังคมสามารถกระจายรายได้อย่างเท่าเทียมกันในรูปแบบ Co-Op ที่เป็นสังคมที่ไม่มีชนชั้น ทุกคนมีสิทธิ์ออกเสียงในองค์กร หรือเรียกร้องได้ตามเหมาะสมตามหลักประชาธิปไตย ปชช.ทุกคนมีเงินเดือนปันผลที่เกิดจากการตัดงบประมาณที่เกิดจากการค้าขายกับต่างประเทศและในประเทศจากรายได้รวมทั้งประเทศหลังหักค่าใช้จ่ายออกไปอย่างเท่าเทียมกันคล้ายรูปแบบ ผู้ถือหุ้นในบริษัทที่เท่าๆกันหมด
หลักการใหม่ของแนวคิดประชาธิปไตยคอมมิวนิสต์ ปฎิรูปที่ดิน3สี
ปฎิรูปการอุตสาหกรรม(ที่ดินสีม่วง)
สหภาพอุตสาหกรรมทำงานร่วมกับสหภาพแรงงาน
มีการกำหนดกฎหมายให้ต้องจ่ายค่าต่ออายุกิจการ(คล้ายกลไกการบังคับจ่ายภาษี แต่ได้เพิ่มเรื่องการที่ภาคปชช.มีส่วนร่วมตัดสินใจไม่ต่ออายุปิดกิจการที่ไม่ดีต่อสังคมหรือสร้างมลพิษเกินกำหนดที่สร้างความเดือดร้อนได้)และให้สัมปทานธุรกิจโดยภาคปชช.ผ่าน
องค์กรรัฐที่ได้รับการแต่งตั้งให้ ดูแล จัดการ ควบคุมธุรกิจและโรงงานในเขตท้องถิ่นต่างๆโดยองค์กรรัฐที่ปชช.ในพื้นที่มีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
และร่วมออกข้อกำหนดต่างๆในแต่ละปี ควบคุมการขยายตัวของธุรกิจและโรงงานในด้านที่ส่งผลเสียต่อชาวบ้าน มีการถ่วงดุลภาคอุตสาหกรรม ปชช.มีอำนาจต่อรองกับธุรกิจและโรงงานผ่านกลไกข้อกำหนดกฎหมายดังกล่าว เช่น การกำหนดและควบคุมราคาสินค้า ,การชดเชยและให้สวัสดิการชาวบ้าน ความรับผิดชอบในด้านสิ่งแวดล้อมของโรงงาน,การใช้เครื่องจักร รวมถึงการทำงานบูรณาการร่วมกับสหภาพแรงงาน เช่น การเพิ่ม-ลดตำแหน่งงาน สวัสดิการ ,กำหนดค่าแรงขั้นต่ำในภาคอุตสาหกรรมทั้งหมดด้วย
โดยประเด็นหลักคือ สนับสนุนธุรกิจStartupเกิดใหม่ ไอเดียใหม่ๆ มีการให้ทุนสนับสนุน เปิดโอกาสให้มีการลงทุนและให้ใช้สถานที่ดำเนินธุรกิจอย่างเหมาะสม และที่สำคัญได้รับยกเว้น การที่ต้องเข้าร่วมประมูลต่ออายุสัมปทานกิจการ จนกว่าจะตั้งตัวได้และมีมูลค่าบริษัทมากขึ้น เพื่อสร้างสินค้าที่ดี มีคุณภาพ เป็นที่ต้องการของตลาด สร้างอาชีพ สร้างรายได้ให้ปชช. ตามข้อกำหนดที่ตกลงร่วมกันกับองค์กรรัฐที่ทำหน้าที่ที่มีปชช.ในพื้นที่รับรู้ร่วมโหวตเสนอแนะได้อย่างเป็นประชาธิปไตย
แก้ปัญหา ความเดือดร้อนของชาวบ้านที่มีการรุกล้ำสร้างมลพิษและทำลายสิ่งแวดล้อมของโรงงานที่มาตั้งขึ้นโดยที่ปชช.ไม่ยินยอมและชาวบ้านไม่ได้รับประโยชน์ หรือได้รับความสำคัญเท่าที่ควร เพิ่มอำนาจในการต่อรองกับนายทุนในเขตพื้นที่ได้
ปฎิรูปการเคหะเขตที่อยู่อาศัย สวนสาธารณะ และศาสนสถาน(สีเหลือง ส้ม น้ำตาล)
การจะกำหนดเขตที่อยู่อาศัยมีข้อกำหนดให้ต้องมีการสร้างเคหะสถานหรือสิ่งก่อสร้างและมีการกำหนดขอบเขตที่ชัดเจนที่มีการแจ้งและขึ้นทะเบียนตามประเภทเคหะสถานต่างๆซึ่งต้องแจ้งทางสหภาพรับรู้ ก่อนทำการกำหนดเขตที่ดินสร้างเคหะสถาน และต้องทำอย่างเหมาะสมไม่ผิดข้อกฎหมายข้อบังคับสหภาพ มีมาตรฐานการก่อสร้างและถูกหลักมาตรฐานสากล ตามหลักวิศวกรรม หลักสุขาภิบาล ไม่ใช่ สร้างแล้วถล่มลงมาทับคนตาย หรือทำแล้วไม่ได้มาตรฐานก็ไม่ได้ แล้วเมื่อผ่าน ก็จะได้รับแจ้ง อัตราภาษีที่คิดตามอัตราก้าวหน้า ยิ่งพื้นที่ใหญ่ สิ่งก่อสร้างใหญ่ ภาษีก็ยิ่งเพิ่มแบบก้าวกระโดด ตามนโยบายข้อกำหนดสหภาพที่เป็นมติมวลชน รวมไปถึงภาษีมรดก
แก้ปัญหา ที่อยู่อาศัยและที่ดิน มีราคาแพง ปชช.มีค่าใช้จ่ายสูงในการซื้อหรือเช่าที่ดิน
ซึ่งหลังได้รับอนุมัติก็สามารถสร้างเสร็จอยู่อาศัยขึ้นทะเบียนรับรองอย่างถูกต้อง และทำการซื้อขาย โอน เปลี่ยนมือได้
ปฎิรูปการเกษตร(ที่ดินสีเขียว)
ที่ดินทำการเกษตรจะได้รับการพัฒนาโดยสหภาพเกษตรของรัฐในแต่ละเขตท้องที่ องค์กรเกษตรของรัฐจะทำหน้าที่เป็นสหภาพในการรวมกลุ่มเกษตรกร ต่อรองราคาสินค้าเกษตรล่วงหน้าจากผู้ซื้อรายใหญ่ที่มีความต้องการซื้อที่แน่นอน เช่น ลูกค้าภาคเอกชน พ่อค้า โรงงานแปรรูปผลผลิตการเกษตร และองค์กรภาครัฐที่ทำสังคมสงเคราะห์แจกจ่ายผลิตผลทางการเกษตรตามกฎหมายรัฐสวัสดิการเพื่อปชช.
เช่น มีประกันสังคม เข้าถึง การรักษาพยาบาลฟรีหรือมีราคาที่ต่ำลง แจกข้าวสารฟรีตลอดชีพทุกคนต้องไม่มีใครอดตาย ของอุปโภคบริโภคพื้นฐานให้ปชช.ทุกคนมีกินมีใช้เพียงนำบัตรปชช.ไปแลกรับตามจุดแจกอย่างเท่าเทียม(จำกัดโควต้าตามความเหมาะสมใช้เป็นเหมือนบัตรเครดิตสะสมแต้ม)โดยใช้งบกำไรส่วนต่างหลังหักค่าใช้จ่ายที่ได้จาก การค้าขาย เก็บภาษี มาจัดซื้อสินค้าภาคการเกษตร อุตสาหกรรมที่ผลิต ส่งเข้ามาตามข้อบังคับรัฐสวัสดิการขั้นพื้นฐานที่ต้องมี เพื่อช่วยเหลือผู้มีรายได้น้อยทุกคนและรวมไปถึงผู้ป่วย ผู้พิการ ผู้สูงวัย ให้ได้รับการดูแลเป็นพิเศษ
องค์กรตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้า จัดตั้งทั้งในและต่างประเทศ เพื่อสามารถต่อรองราคารวมถึงสามารถต่อรองขอเงินทุนล่วงหน้าหรือปัจจัยการผลิตอื่นๆมาใช้ลงทุนผลิตสินค้าเกษตรได้ในแต่ละกรณีตามที่ตกลง รวมถึงเก็บข้อมูลมาใช้พัฒนาผลิตผลให้เป็นที่ต้องการของตลาด เพื่อลดปัญหาการผลิตสินค้าเกษตรที่ขาดหรือล้นตลาดมากจนเกินไป เกิดปัญหาราคาสินค้าเกษตรตกต่ำหรือ ราคาสินค้าเกษตรแพงจนผู้บริโภคภาคปชช.ได้รับผลกระทบ
ออกกฎให้นายทุนเจ้าของที่ดินดั้งเดิมไม่สามารถจำกัดสิทธิ์ในที่ดินของตนเองเพื่อซื้อขายเก็งกำไรอย่างในอดีต เนื่องจากส่งผลให้ที่ดินมีราคาแพง มีการหาประโยชน์จากการถือครองกรรมสิทธิ์ที่ดิน รับผลกำไรจากการผลิตเองขายเองอย่างเสรีโดยสังคมไม่ได้รับประโยชน์มากเท่าที่ควร ประชาชนขาดแคลนที่ดินทำกินจนเกิดการรุกที่ป่าเพื่อทำเกษตร หรือเรียกเก็บค่าเช่าที่ดินจากผู้เช่าได้ตามใจอย่างในอดีต ต้องยินยอมให้องค์กรเกษตรที่ได้รับโควต้า สามารถเข้ามาดำเนินการเพาะปลูกบนที่ดินได้ตามกฎหมายประชาธิปไตยคอมมิวนิสต์
เป็นการแก้ปัญหา ขาดแคลนที่ดินทำกิน การรุกที่ป่าของเกษตรกร เกษตรกรไม่มีอำนาจต่อรองราคาต่างคน ต่างทำ ไม่มีทิศทางที่ชัดเจนร่วมกัน สินค้าเกษตรขาดหรือล้นตลาด ได้อย่างสมบูรณ์ และที่ดินจะไม่ได้สงวนไว้ใช้ประโยชน์เพียงแค่เจ้าของโฉนดเพียงคนเดียว ให้สิทธิ์องค์กรเกษตรที่ได้โควต้า เข้ามาใช้ได้ เป็น การทำเกษตรแปลงใหญ่ ที่ช่วยเพิ่มพื้นที่และประสิทธิภาพในการผลิตสินค้าเกษตรด้วยเทคโนโลยีเครื่องจักรสมัยใหม่ ที่มีขนาดใหญ่และมีประสิทธิภาพ ลดการใช้แรงงาน เพิ่มคุณภาพและผลผลิต ในการใช้ปุ๋ยและการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ และเงินที่ได้จากการผลิตสินค้าเกษตรจะถูกนำมาใช้ จ้างงานแรงงานภาคการเกษตรและภาคแรงงานอื่นๆ โดยใช้ ระบบจ้างแบบเหมาให้รายได้ตามผลงาน หรือ แบบเงินเดือนพิเศษที่มาจากการทำงานประจำ
นโยบายรัฐสวัสดิการพื้นฐานที่ควรมี
-ฟรีค่าโทรและอินเทอร์เน็ตพื้นฐาน ถ้าใช้เกินโควต้าก็คิดบริการเพิ่มได้ แต่ต้องไม่แพงเกินไป
-เข้าถึงการรักษาพยาบาล,การศึกษาตั้งแต่อนุบาลจนถึงปริญญาเอกสูงสุด พื้นฐานฟรี
-เข้าถึงแหล่งอาหาร ยารักษา เช่น ข้าวสาร เวชภัณฑ์ ฟรีหรือในราคาต่ำเช่น พลังงานเชื้อเพลิง น้ำประปา ไฟฟ้า
-ทุกคนมีรายได้รัฐสวัสดิการพื้นฐานให้พอยังชีพได้ทุกคน เรียนจบมามีตำแหน่งงานให้เลือก มีงานทำ มีรายได้ มีเงินเดือน
Democracy communism
แนวคิด
"ประชาชนต้องมีอำนาจ มีส่วนร่วมในการตัดสินใจไม่ใช่แค่เลือกผู้นำหรือตัวแทนแต่มีส่วนร่วมในการออกนโยบายและแสดงความคิดเห็นมีสิทธิ์โหวตสนับสนุนนโยบายต่างๆ เพื่อให้เกิดการจัดสรรทรัพยากรและงบประมาณไปดำเนินการตามนโยบายที่ได้รับการพิจารณา ตามมติมวลชน"
เป็นวิวัฒนาการทางสังคมสูงสุดของมนุษย์ อำนาจรัฐเป็นประชาธิปไตยอยู่ภายใต้ประชาชนจากกลไกGoverment Stock Options ที่องค์กร หน่วยงานรัฐจะอยู่ในรูปบริษัทCo-Opที่คล้ายรูปแบบ บริษัทในตลาดหุ้น มีการเปิดเผยงบ มีความโปร่งใส ตรวจสอบได้ อยู่ภายใต้กฎหมายป้องกันการผูกขาดจำนวนองค์กรรัฐให้มีมากกว่าหนึ่งองค์กรที่ทำหน้าที่เดียวกัน เพื่อให้ปชช.ได้เลือกจ่ายภาษีสนับสนุนให้องค์กรรัฐจากรายได้ตามที่กฎหมายกำหนด
เพื่อให้อำนาจปชช. ถ่วงดุลอำนาจองค์กร หน่วยงานรัฐ กระตุ้นให้สร้างผลงานที่ดีๆ เพื่อที่ปชช.จะเห็นด้วยและเลือกให้การสนับสนุนงบประมาณ มากกว่า องค์กรที่ทำได้ไม่ดี(ใช้กลไกการแข่งขันมากระตุ้นภาครัฐ) โดยที่องค์กรรัฐ มีการแข่งขันจัดตั้งองค์กรได้อย่างเสรี ไม่ผูกขาดองค์กรเดียว ให้อำนาจหน้าที่โดยมีการทำงานร่วมกันโดยยึดประโยชน์ปชช.เป็นหลัก คล้ายระบบบริษัทที่เป็นCo-Op เพียงแต่นำมาประยุกต์ใช้กับการบริหาร องค์กร หน่วยงานราชการแทน
สังคมสามารถกระจายรายได้อย่างเท่าเทียมกันในรูปแบบ Co-Op ที่เป็นสังคมที่ไม่มีชนชั้น ทุกคนมีสิทธิ์ออกเสียงในองค์กร หรือเรียกร้องได้ตามเหมาะสมตามหลักประชาธิปไตย ปชช.ทุกคนมีเงินเดือนปันผลที่เกิดจากการตัดงบประมาณที่เกิดจากการค้าขายกับต่างประเทศและในประเทศจากรายได้รวมทั้งประเทศหลังหักค่าใช้จ่ายออกไปอย่างเท่าเทียมกันคล้ายรูปแบบ ผู้ถือหุ้นในบริษัทที่เท่าๆกันหมด
หลักการใหม่ของแนวคิดประชาธิปไตยคอมมิวนิสต์ ปฎิรูปที่ดิน3สี
ปฎิรูปการอุตสาหกรรม(ที่ดินสีม่วง)
สหภาพอุตสาหกรรมทำงานร่วมกับสหภาพแรงงาน
มีการกำหนดกฎหมายให้ต้องจ่ายค่าต่ออายุกิจการ(คล้ายกลไกการบังคับจ่ายภาษี แต่ได้เพิ่มเรื่องการที่ภาคปชช.มีส่วนร่วมตัดสินใจไม่ต่ออายุปิดกิจการที่ไม่ดีต่อสังคมหรือสร้างมลพิษเกินกำหนดที่สร้างความเดือดร้อนได้)และให้สัมปทานธุรกิจโดยภาคปชช.ผ่าน
องค์กรรัฐที่ได้รับการแต่งตั้งให้ ดูแล จัดการ ควบคุมธุรกิจและโรงงานในเขตท้องถิ่นต่างๆโดยองค์กรรัฐที่ปชช.ในพื้นที่มีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
และร่วมออกข้อกำหนดต่างๆในแต่ละปี ควบคุมการขยายตัวของธุรกิจและโรงงานในด้านที่ส่งผลเสียต่อชาวบ้าน มีการถ่วงดุลภาคอุตสาหกรรม ปชช.มีอำนาจต่อรองกับธุรกิจและโรงงานผ่านกลไกข้อกำหนดกฎหมายดังกล่าว เช่น การกำหนดและควบคุมราคาสินค้า ,การชดเชยและให้สวัสดิการชาวบ้าน ความรับผิดชอบในด้านสิ่งแวดล้อมของโรงงาน,การใช้เครื่องจักร รวมถึงการทำงานบูรณาการร่วมกับสหภาพแรงงาน เช่น การเพิ่ม-ลดตำแหน่งงาน สวัสดิการ ,กำหนดค่าแรงขั้นต่ำในภาคอุตสาหกรรมทั้งหมดด้วย
โดยประเด็นหลักคือ สนับสนุนธุรกิจStartupเกิดใหม่ ไอเดียใหม่ๆ มีการให้ทุนสนับสนุน เปิดโอกาสให้มีการลงทุนและให้ใช้สถานที่ดำเนินธุรกิจอย่างเหมาะสม และที่สำคัญได้รับยกเว้น การที่ต้องเข้าร่วมประมูลต่ออายุสัมปทานกิจการ จนกว่าจะตั้งตัวได้และมีมูลค่าบริษัทมากขึ้น เพื่อสร้างสินค้าที่ดี มีคุณภาพ เป็นที่ต้องการของตลาด สร้างอาชีพ สร้างรายได้ให้ปชช. ตามข้อกำหนดที่ตกลงร่วมกันกับองค์กรรัฐที่ทำหน้าที่ที่มีปชช.ในพื้นที่รับรู้ร่วมโหวตเสนอแนะได้อย่างเป็นประชาธิปไตย
แก้ปัญหา ความเดือดร้อนของชาวบ้านที่มีการรุกล้ำสร้างมลพิษและทำลายสิ่งแวดล้อมของโรงงานที่มาตั้งขึ้นโดยที่ปชช.ไม่ยินยอมและชาวบ้านไม่ได้รับประโยชน์ หรือได้รับความสำคัญเท่าที่ควร เพิ่มอำนาจในการต่อรองกับนายทุนในเขตพื้นที่ได้
ปฎิรูปการเคหะเขตที่อยู่อาศัย สวนสาธารณะ และศาสนสถาน(สีเหลือง ส้ม น้ำตาล)
การจะกำหนดเขตที่อยู่อาศัยมีข้อกำหนดให้ต้องมีการสร้างเคหะสถานหรือสิ่งก่อสร้างและมีการกำหนดขอบเขตที่ชัดเจนที่มีการแจ้งและขึ้นทะเบียนตามประเภทเคหะสถานต่างๆซึ่งต้องแจ้งทางสหภาพรับรู้ ก่อนทำการกำหนดเขตที่ดินสร้างเคหะสถาน และต้องทำอย่างเหมาะสมไม่ผิดข้อกฎหมายข้อบังคับสหภาพ มีมาตรฐานการก่อสร้างและถูกหลักมาตรฐานสากล ตามหลักวิศวกรรม หลักสุขาภิบาล ไม่ใช่ สร้างแล้วถล่มลงมาทับคนตาย หรือทำแล้วไม่ได้มาตรฐานก็ไม่ได้ แล้วเมื่อผ่าน ก็จะได้รับแจ้ง อัตราภาษีที่คิดตามอัตราก้าวหน้า ยิ่งพื้นที่ใหญ่ สิ่งก่อสร้างใหญ่ ภาษีก็ยิ่งเพิ่มแบบก้าวกระโดด ตามนโยบายข้อกำหนดสหภาพที่เป็นมติมวลชน รวมไปถึงภาษีมรดก
แก้ปัญหา ที่อยู่อาศัยและที่ดิน มีราคาแพง ปชช.มีค่าใช้จ่ายสูงในการซื้อหรือเช่าที่ดิน
ซึ่งหลังได้รับอนุมัติก็สามารถสร้างเสร็จอยู่อาศัยขึ้นทะเบียนรับรองอย่างถูกต้อง และทำการซื้อขาย โอน เปลี่ยนมือได้
ปฎิรูปการเกษตร(ที่ดินสีเขียว)
ที่ดินทำการเกษตรจะได้รับการพัฒนาโดยสหภาพเกษตรของรัฐในแต่ละเขตท้องที่ องค์กรเกษตรของรัฐจะทำหน้าที่เป็นสหภาพในการรวมกลุ่มเกษตรกร ต่อรองราคาสินค้าเกษตรล่วงหน้าจากผู้ซื้อรายใหญ่ที่มีความต้องการซื้อที่แน่นอน เช่น ลูกค้าภาคเอกชน พ่อค้า โรงงานแปรรูปผลผลิตการเกษตร และองค์กรภาครัฐที่ทำสังคมสงเคราะห์แจกจ่ายผลิตผลทางการเกษตรตามกฎหมายรัฐสวัสดิการเพื่อปชช.
เช่น มีประกันสังคม เข้าถึง การรักษาพยาบาลฟรีหรือมีราคาที่ต่ำลง แจกข้าวสารฟรีตลอดชีพทุกคนต้องไม่มีใครอดตาย ของอุปโภคบริโภคพื้นฐานให้ปชช.ทุกคนมีกินมีใช้เพียงนำบัตรปชช.ไปแลกรับตามจุดแจกอย่างเท่าเทียม(จำกัดโควต้าตามความเหมาะสมใช้เป็นเหมือนบัตรเครดิตสะสมแต้ม)โดยใช้งบกำไรส่วนต่างหลังหักค่าใช้จ่ายที่ได้จาก การค้าขาย เก็บภาษี มาจัดซื้อสินค้าภาคการเกษตร อุตสาหกรรมที่ผลิต ส่งเข้ามาตามข้อบังคับรัฐสวัสดิการขั้นพื้นฐานที่ต้องมี เพื่อช่วยเหลือผู้มีรายได้น้อยทุกคนและรวมไปถึงผู้ป่วย ผู้พิการ ผู้สูงวัย ให้ได้รับการดูแลเป็นพิเศษ
องค์กรตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้า จัดตั้งทั้งในและต่างประเทศ เพื่อสามารถต่อรองราคารวมถึงสามารถต่อรองขอเงินทุนล่วงหน้าหรือปัจจัยการผลิตอื่นๆมาใช้ลงทุนผลิตสินค้าเกษตรได้ในแต่ละกรณีตามที่ตกลง รวมถึงเก็บข้อมูลมาใช้พัฒนาผลิตผลให้เป็นที่ต้องการของตลาด เพื่อลดปัญหาการผลิตสินค้าเกษตรที่ขาดหรือล้นตลาดมากจนเกินไป เกิดปัญหาราคาสินค้าเกษตรตกต่ำหรือ ราคาสินค้าเกษตรแพงจนผู้บริโภคภาคปชช.ได้รับผลกระทบ
ออกกฎให้นายทุนเจ้าของที่ดินดั้งเดิมไม่สามารถจำกัดสิทธิ์ในที่ดินของตนเองเพื่อซื้อขายเก็งกำไรอย่างในอดีต เนื่องจากส่งผลให้ที่ดินมีราคาแพง มีการหาประโยชน์จากการถือครองกรรมสิทธิ์ที่ดิน รับผลกำไรจากการผลิตเองขายเองอย่างเสรีโดยสังคมไม่ได้รับประโยชน์มากเท่าที่ควร ประชาชนขาดแคลนที่ดินทำกินจนเกิดการรุกที่ป่าเพื่อทำเกษตร หรือเรียกเก็บค่าเช่าที่ดินจากผู้เช่าได้ตามใจอย่างในอดีต ต้องยินยอมให้องค์กรเกษตรที่ได้รับโควต้า สามารถเข้ามาดำเนินการเพาะปลูกบนที่ดินได้ตามกฎหมายประชาธิปไตยคอมมิวนิสต์
เป็นการแก้ปัญหา ขาดแคลนที่ดินทำกิน การรุกที่ป่าของเกษตรกร เกษตรกรไม่มีอำนาจต่อรองราคาต่างคน ต่างทำ ไม่มีทิศทางที่ชัดเจนร่วมกัน สินค้าเกษตรขาดหรือล้นตลาด ได้อย่างสมบูรณ์ และที่ดินจะไม่ได้สงวนไว้ใช้ประโยชน์เพียงแค่เจ้าของโฉนดเพียงคนเดียว ให้สิทธิ์องค์กรเกษตรที่ได้โควต้า เข้ามาใช้ได้ เป็น การทำเกษตรแปลงใหญ่ ที่ช่วยเพิ่มพื้นที่และประสิทธิภาพในการผลิตสินค้าเกษตรด้วยเทคโนโลยีเครื่องจักรสมัยใหม่ ที่มีขนาดใหญ่และมีประสิทธิภาพ ลดการใช้แรงงาน เพิ่มคุณภาพและผลผลิต ในการใช้ปุ๋ยและการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ และเงินที่ได้จากการผลิตสินค้าเกษตรจะถูกนำมาใช้ จ้างงานแรงงานภาคการเกษตรและภาคแรงงานอื่นๆ โดยใช้ ระบบจ้างแบบเหมาให้รายได้ตามผลงาน หรือ แบบเงินเดือนพิเศษที่มาจากการทำงานประจำ
นโยบายรัฐสวัสดิการพื้นฐานที่ควรมี
-ฟรีค่าโทรและอินเทอร์เน็ตพื้นฐาน ถ้าใช้เกินโควต้าก็คิดบริการเพิ่มได้ แต่ต้องไม่แพงเกินไป
-เข้าถึงการรักษาพยาบาล,การศึกษาตั้งแต่อนุบาลจนถึงปริญญาเอกสูงสุด พื้นฐานฟรี
-เข้าถึงแหล่งอาหาร ยารักษา เช่น ข้าวสาร เวชภัณฑ์ ฟรีหรือในราคาต่ำเช่น พลังงานเชื้อเพลิง น้ำประปา ไฟฟ้า
-ทุกคนมีรายได้รัฐสวัสดิการพื้นฐานให้พอยังชีพได้ทุกคน เรียนจบมามีตำแหน่งงานให้เลือก มีงานทำ มีรายได้ มีเงินเดือน